ข้อมูลพื้นฐานจังหวัดบุรีรัมย์  โดย สำนักงานจังหวัดบุรีรัมย์ โทร. ๐ ๔๔๖๖ ๖๕๓๔

1.ด้านกายภาพ

1.ประวัติความเป็นมา 

นักโบราณคดีและนักประวัติศาสตร์ให้ข้อสันนิษฐานโดยสรุปว่า จังหวัดบุรีรัมย์เคยเป็น ที่ตั้งอาณาจักรอันยิ่งใหญ่ รุ่งเรืองมาตั้งแต่สมัยทวาราวดี (พุทธศตวรรษที่ ๑๒ – ๑๖) เชื่อมต่อจนถึง สมัยลพบุรี (พุทธศตวรรษที่ ๑๖ – ๑๘ ) จากนั้นก็เริ่มเสื่อมอำนาจลงและแตกแยก อาจจะด้วยเหตุ ภัยธรรมชาติหรือสงคราม ประชาชนกระจายออกไปตั้งชุมชนเล็ก ๆ ตามปุาหรือชายแดนเรียกว่า “เขมรปุาดง”

สมัยกรุงธนบุรี พ.ศ. ๒๓๑๙ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟูาจุฬาโลกมหาราช ขณะดำรง พระยศเจ้าพระยาจักรี เสด็จฯ มาทรงจัดระเบียบการปกครองเมืองนางรอง รวบรวมผู้คนเมืองตลุง เมืองสุรินทร์ เมืองสังขะ และเมืองขุขันธ์ ก่อตั้งเป็นเมืองใหม่ ณ ชัยภูมิปุาทุ่งต้นแปฺะเรียกว่า “เมือง แปฺะ” คือเมืองบุรีรัมย์ปัจจุบัน ความชอบครั้งนี้ ได้รับพระราชทานพระอิสริยศ เป็นสมเด็จเจ้าพระยา มหากษัตริย์ศึก พ.ศ. ๒๔๕๐ ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้กระทรวงมหาดไทยปรับปรุง หัว เมืองในภาคตะวันออกเฉียงเหนือให้มณฑลนครราชสีมาประกอบด้วย ๓ เมือง ๑๗ อำเภอ คือ เมือง นครราชสีมา ๑๐ อำเภอ เมืองชัยภูมิ ๓ อำเภอ และเมืองบุรีรัมย์ ๔ อำเภอ คือ นางรอง พุทไธสง

ประโคนชัย และรัตนบุรี (ปัจจุบันอยู่ในเขตการปกครองของจังหวัดสุรินทร์)ต่อมาได้มีการตรา พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. ๒๔๗๖ ขึ้นยุบมณฑล และจัดระเบียบ บริหารราชการ ออกเป็นจังหวัดและอำเภอ เมืองบุรีรัมย์จึงมีฐานะเป็น “จังหวัดบุรีรัมย์” แต่นั้นเป็นต้นมา 

จังห วั ด บุ รี รั ม ย์ หมำ ย ถึงเมื องแห่งค วำม รื่ น รม ย์เ ป็ น จังห วั ด หนึ่งใ น ภำ ค ตะวันออกเฉียงเหนือที่มีทรัพยากรการท่องเที่ยวที่สำคัญน่าเที่ยว โดยเฉพาะอย่างยิ่งแหล่ง โบราณสถานศิลปะแบบขอมโบราณที่มีอยู่มากมายกระจายอยู่ในพื้นที่ทั้งจังหวัด อีกทั้งยังเป็นที่รู้จักใน ฐานะเมืองเกษตรกรรมและหัตถกรรม เพราะเป็นแหล่งปลูกข้าวหอมมะลิที่มีคุณภาพดี และเป็น แหล่งทอผ้าไหมที่สวยงามและมีชื่อเสียง นอกจากนี้ด้วยสภาพพื้นที่ตั้งมีอาณาเขตติดต่อกับประเทศ เพื่อนบ้าน จึงทำให้มีความหลากหลายของเชื้อชาติซึ่งก่อให้เกิดความหลากหลายของประเพณีวัฒนธรรม จนทำให้เป็นที่รู้จักโดยทั่วไปดังคำขวัญของจังหวัดที่ว่า “เมืองปราสาทหิน ถิ่นภูเขาไฟ ผ้าไหมสวย รวยวัฒนธรรม ” 

ขณะเดียวกันบุรีรัมย์ก็มีบทบาทสำคัญในด้านอุตสาหกรรมอีกสถานะหนึ่ง เพราะเป็น แหล่งผลิตหินก่อสร้างแหล่งใหญ่ที่มีคุณภาพดีที่สุดของประเทศ โดยเฉพาะในย่านอำเภอเมืองบุรีรัมย์ อำเภอนางรอง และอำเภอเฉลิมพระเกียรติฯ สามารถส่งหินจำหน่ายให้แก่จังหวัดต่างๆในเขตภาค อีสานตอนล่างและภาคอื่นๆ

  1. ลักษณะทางกายภาพ 

ตำแหน่งที่ตั้ง

จังหวัดบุรีรัมย์ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ระหว่างเส้นรุ้งที่ 14 องศา 15 ลิปดาเหนือ กับ 15 องศา 45 ลิปดาเหนือ เส้นแวงที่ 102 องศา 30 ลิปดา ตะวันออก กับ 103 องศา 45 ลิปดาตะวันออก อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานคร โดยทางรถยนต์ ประมาณ 385 กิโลเมตร ทางรถไฟประมาณ 376 กิโลเมตร 

ขอบเขตจังหวัด

- ทิศเหนือ ติดต่อกับจังหวัดขอนแก่น จังหวัดมหาสารคาม จังหวัดสุรินทร์ 

- ทิศตะวันออก ติดต่อกับจังหวัดสุรินทร์ 

- ทิศใต้ติดต่อกับจังหวัดสระแก้ว และราชอาณาจักรกัมพูชา 

- ทิศตะวันตก ติดต่อกับจังหวัดนครราชสีมา 

พื้นที่จังหวัด

จังหวัดบุรีรัมย์ มีเนื้อที่รวมทั้งสิ้น 10,393.945 ตารางกิโลเมตร หรือ 6,451,178.125 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 6.11 ของพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และคิดเป็นร้อย ละ 2.01 ของพื้นที่ประเทศไทย โดยมีพื้นที่กว้างเป็นลำดับที่ 17 ของประเทศ - พรมแดน

จังหวัดบุรีรัมย์ มีพรมแดนโดยรอบยาวประมาณ 638 กิโลเมตร เป็นพรมแดนที่เป็น ธรรมชาติ ทั้งสิ้น คือ ใช้แนวสันเขาแบ่งเขตยาวประมาณ 170 กิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 24.89 พรมแดนที่เป็นลำน้ำยาวประมาณ 363 กิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 53.15 และใช้เส้นแนวตรงในที่ ราบเป็นแนวพรมแดนอีก 150 กิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 21.96 

- รูปร่าง

รูปร่างของจังหวัดบุรีรัมย์ มีความยาวมากกว่าความกว้าง กล่าวคือ วัดความยาว ของจังหวัดจากแผนที่ภูมิศาสตร์อัตราส่วน 1 : 250,000 ของกรมแผนที่ทหารได้ประมาณ 182 กิโลเมตร ส่วนความกว้างวัดได้ประมาณ 90 กิโลเมตร ในทางภูมิศาสตร์การเมืองได้วิเคราะห์รูปร่างที่ ดีของพื้นที่ไว้ว่า จะต้องมีความยาวและความกว้างเท่ากันหรือ ยาว : กว้าง เท่ากับ 1 ซึ่งรูปร่างของ พื้นที่ดังกล่าวอาจเกือบกลม หรือ เป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัส เมื่อพิจารณารูปร่างของจังหวัดบุรีรัมย์แล้วจะมี 

รูปร่างคล้ายเต่า มีหัวอยู่ทางตอนบนและลำตัวอยู่ทางตอนกลางและตอนใต้ ถ้าคิดตามสัดส่วนความ ยาวต่อความกว้างแล้ว จะมีค่าประมาณ 2.02 ซึ่งเป็นรูปร่างที่ไม่ดี คือ ไม่กะทัดรัด เพราะจะมีรูปร่าง ยาวรีในตอนบนแล้วแผ่กว้างทางตอนกลางและตอนใต้จึงทำให้เกิดข้อเสียในด้านต่าง ๆ การสื่อสาร โทรคมนาคมไม่สะดวก ยากแก่การพัฒนา เสียค่าใช้จ่ายในการพัฒนาสูง ตลอดจนการดูแล ของ เจ้าหน้าที่ไม่ทั่วถึง

ลักษณะภูมิประเทศ

- ลักษณะพื้นที่

ภูมิประเทศโดยทั่วไปเป็นที่ราบสูงทางตอนใต้ บริเวณอำเภอละหานทราย อำเภอ โนนดินแดง และอำเภอบ้านกรวด มีเทือกเขาบรรทัดและเทือกเขาพนมดงรัก กั้นพรมแดนระหว่าง ประเทศไทยกับประเทศกัมพูชาประชาธิปไตย พื้นที่ลาดจากทิศใต้ลงไปทางทิศเหนือมีลักษณะเป็นลูก คลื่นน้อยๆ เป็นที่ราบขั้นบันไดช่องเขา และภูมิประเทศที่เกิดจากภูเขาไฟ ลักษณะภูมิประเทศที่สำคัญ แบ่งได้ 3 ลักษณะ คือ

  1. พื้นที่สูงและภูเขาทางตอนใต้ เป็นพื้นที่ลอนลึก ภูเขาและช่องเขาบริเวณเทือกเขา 

พนมดงรักมีความสูงตั้งแต่ 200 เมตรจากระดับน้ำทะเล ครอบคลุมพื้นที่ร้อยละ 25 ของพื้นที่จังหวัด ได้แก่ บริเวณด้านตะวันตกของอำเภอหนองหงส์ ตอนใต้ของอำเภอโนนสุวรรณ อำเภอหนองกี่ อำเภอ นางรอง อำเภอปะคำ อำเภอละหานทราย อำเภอบ้านกรวด และอำเภอโนนดินแดง 

  1. พื้นที่ลูกคลื่นลอนตื้นตอนกลางของจังหวัด ความสูงประมาณ 150-200 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง พื้นที่จะทอดขนานเป็นแนวยาวทางทิศตะวันออกและทิศตะวันตก ครอบคลุมพื้นที่ประมาณร้อยละ 60 ของพื้นที่จังหวัด ได้แก่ บริเวณอำเภอประโคนชัย อำเภอ พลับพลาชัย อำเภอเมืองบุรีรัมย์ อำเภอห้วยราช อำเภอลำปลายมาศ อำเภอคูเมือง อำเภอกระสัง อำเภอบ้านด่าน และบางส่วนของอำเภอนางรอง อำเภอหนองกี่ อำเภอหนองหงส์ อำเภอสตึก อำเภอ พุทไธสง อำเภอนาโพธิ์ อำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์ อำเภอเฉลิมพระเกียรติจังหวัดบุรีรัมย์ อำเภอชำนิ และอำเภอแคนดง 
  2. พื้นที่ราบลุ่มริมฝั่งแม่น้ำมูล มีความสูงเฉลี่ยต่ำกว่า 150 เมตร ได้แก่ พื้นที่ บริเวณอำเภอพุทไธสง อำเภอคูเมือง และอำเภอสตึก 

ลักษณะภูมิอากาศ

จังหวัดบุรีรัมย์มีสภาพอากาศ จัดอยู่ภายในเขตภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าเมืองร้อน (Tropical Savanna Climate : Aw) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เขตภูมิอากาศแบบสวันนา (Savanna Climate) ซึ่งเป็นลักษณะอากาศที่มีฤดูแล้งสลับฤดูฝนอย่างเด่นชัด จากสถิติภูมิอากาศข้อมูล อุตุนิยมวิทยา ในคาบ 30 ปี(พ.ศ. 2530-2559) ของจังหวัดบุรีรัมย์ พบว่า ปริมาณฝนรวมเฉลี่ยทั้งปี เท่ากับ 1,217.6 มิลลิเมตร ความชื้นสัมพัทธ์สูงที่สุดเฉลี่ยอยู่ในเดือนกันยายนเท่ากับร้อยละประมาณ 96 ความชื้นสัมพัทธ์ต่ำสุดเฉลี่ยอยู่ในเดือนกุมภาพันธ์เท่ากับประมาณร้อยละ 40 โดยรวมแล้วจังหวัด บุรีรัมย์ มีความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยทั้งปีร้อยละ 75 ลักษณะอากาศเช่นนี้เกิดขึ้นเนื่องจากจังหวัดบุรีรัมย์ตก 

อยู่ภายใต้อิทธิพลของลมมรสุม 2 ชนิด คือ ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้และลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ จึงสามารถแบ่งฤดูกาลออกได้เป็น 3 ฤดู ดังนี้

1) ฤดูฝน (Rain Season) เริ่มตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม ซึ่งได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดนำความชื้นจากทะเลอันดามัน และอ่าวไทยเข้ามาปก คลุม และมีอิทธิพลของร่องความกดอากาศต่ำหรือร่องมรสุม (International Tropical Convergence Zone : ITCZ or Monsoon Trough) พาดผ่าน ทำให้เริ่มมีฝนตกชุกตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคมเป็นต้น ไปจนถึงกลางเดือนมิถุนายน หลังจากนั้นไปจนถึงกลางเดือนกรกฎาคมฝนจะลดน้อยลงมากบางวันอาจไม่ มีฝนตกเลย เรียกระยะนี้ว่า ระยะฝนทิ้งช่วง (Dry Spell) เนื่องจากร่องความกดอากาศต่ำหรือร่องมรสุมได้ เคลื่อนตัวขึ้นไปพาดผ่านตอนบน ของประเทศลาว ประเทศเวียดนาม และประเทศจีนตอนใต้ สำหรับ ในช่วงเดือนสิงหาคมและกันยายน ฝนจะกลับมาตกชุกอีกครั้งหนึ่ง เนื่องจากร่องความกดอากาศต่ำหรือ ร่องมรสุมได้เคลื่อนตัวลงมาพาดผ่านภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ในฤดูนี้มักมีพายุหมุนเขต ร้อนเคลื่อนตัวจากทะเลจีนใต้เข้ามามีอิทธิพลต่อภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เฉลี่ยปีละ 1-3 ลูก จากสถิติ ภูมิอากาศจังหวัดบุรีรัมย์ของกรมอุตุนิยมวิทยา ในคาบ 30

2) ฤดูหนาว (Winter Season) เริ่มตั้งแต่กลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือน 

กุมภาพันธ์ ในฤดูนี้จังหวัดบุรีรัมย์ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งเป็นลมที่พัดออกจาก ความกดอากาศสูงหรือมวลอากาศเย็นจากประเทศจีน มีลักษณะอากาศเย็นและแห้ง ความกดอากาศสูง หรือมวลอากาศเย็น จะแผ่ปกคลุมตลอดฤดู อุณหภูมิจะลดต่ำลงทำให้มีอากาศหนาวเย็นโดยทั่วไปขึ้นอยู่ กับกำลังและขนาดของมวลอากาศเย็นนั้น จากสถิติภูมิอากาศของสถานีอุตุนิยมวิทยาบุรีรัมย์ ในคาบ 30 ปี(พ.ศ. 2530-2559) ของจังหวัดบุรีรัมย์ พบว่า อากาศหนาวเย็นที่สุดอยู่ในช่วงเดือนธันวาคมถึง มกราคม โดยอุณหภูมิเฉลี่ยต่ำที่สุดเดือนมกราคม 13.0 °c และ 13.6 °c ในเดือนธันวาคม ตามลำดับ อุณหภูมิต่ำที่สุดที่วัดของจังหวัดวัดได้เท่ากับ 7.8 °c ในเดือนธันวาคมเมื่อปี 2525 ในฤดูนี้มักประสบ ปัญหาภัยแล้งเนื่องจากมีฝนลดน้อยลงอย่างมากจนถึงระดับไม่มีฝนตก ในฤดูนี้อาจมีคลื่นกระแสลม ตะวันตกเคลื่อนตัวมาจากประเทศพม่าผ่านภาคเหนือของประเทศไทยเข้ามามีอิทธิพลต่อภาค ตะวันออกเฉียงเหนือได้ ซึ่งอาจทำให้มีฝนฟูาคะนองเกิดขึ้นได้ แต่ปริมาณฝนจะไม่มากนัก 

3) ฤดูร้อน (Summer Season) เริ่มตั้งแต่กลางเดือนกุมภาพันธ์ถึงกลางเดือน พฤษภาคม ลมที่พัด ปกคลุมในฤดูนี้ส่วนใหญ่เป็นลมใต้และลมตะวันตก และมักจะมีหย่อมความกดอากาศ ต่ำเนื่องจากความร้อน (Heat Low) ปกคลุมตลอดฤดู ทำให้มีอากาศร้อนโดยทั่วไป บางวันมีอากาศร้อนจัด สามารถวัดอุณหภูมิได้สูงถึง 41 °c ขึ้นไป จากสถิติภูมิอากาศของกรมอุตุนิยมวิทยาของจังหวัดบุรีรัมย์ คาบ 30 ปี(พ.ศ. 2530-2559)พบว่า เดือนเมษายน เป็นเดือนที่มีอากาศร้อนมากที่สุด อุณหภูมิสูงที่สุด ที่เคยวัดได้ 43.0 °c เมื่อปี 2559 โดยค่าเฉลี่ยอุณหภูมิสูงสุดเดือนเมษายนคือ 40.2 °c ในฤดูนี้จะมี 

บางช่วงที่มีมวลอากาศเย็นจากประเทศจีนแผ่ลงมา จะเกิดการปะทะกับมวลอากาศร้อนที่ปกคลุมอยู่ก่อน แล้ว ทำให้เกิดพายุฝนฟูาคะนอง ลมกระโชกแรง บางครั้งมีลูกเห็บตกเกิดขึ้นด้วย เราเรียก พายุชนิดนี้ว่า พายุฤดูร้อน (Summer Storm) ฝนที่ตกลงมาในฤดูนี้ยังมีปริมาณน้อยมักไม่เพียงพอต่อการเพาะปลูก ตารางที่ 1 สภาพภูมิอากาศจังหวัดบุรีรัมย์ จำแนกรายปี 

ที่ 

อุณหภูมิ 

ปี พ.ศ. 2560 

ปี พ.ศ. 2561 

ปี พ.ศ. 2562

อุณหภูมิเฉลี่ยทั้งปี (องศาเซลเซียส) 

๒๗.๐๗ 

๒๗.๒๔ 

28.08

อุณหภูมิสูงสุด (องศาเซลเซียส) 

๓๙.๒ 

๓๙.๒๐ 

40.8

อุณหภูมิต่ำสุด (องศาเซลเซียส) 

๑๑.๒ 

๑๑.๙๐ 

12.30



(ที่มา : สถานีอุตุนิยมวิทยานางรอง อ.นางรอง จังหวัดบุรีรัมย์) 

ตารางที่ 2 ปริมาณน้ำฝน จำนวนวันฝนตกจังหวัดบุรีรัมย์ จำแนกรายปี 

ที่ 

รายการ 

ปี พ.ศ. 2560 

ปี พ.ศ. 2561 

ปี พ.ศ. 2562

ปริมาณน้ำฝนรวมทั้งปี(มิลิเมตร) 

๑,๒๕๓.๑ 

๗๗๓.๕๐ 

829.3

จำนวนวันฝนตก (วัน) 

๑๓๖ 

๑๑๘ 

95



(ที่มา : สถานีอุตุนิยมวิทยานางรอง อ.นางรอง จังหวัดบุรีรัมย์)

 

ตารางที่ 3 ความชื้นสัมพัทธ์จังหวัดบุรีรัมย์ จำแนกรายปี 

ที่ 

ความชื้นสัมพัทธ์ 

ปี พ.ศ. ๒๕๖๐ 

ปี พ.ศ. 2561 

ปี พ.ศ. 2562

ความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยทั้งปี (เปอร์เซ็น) 

๗๖.๗๐ 

๗๔.๗๕ 

69.90

ความชื้นสัมพัทธ์สูงสุดเฉลี่ย (เปอร์เซ็น) 

๙๒.๗๙ 

๙๒.๒๔ 

88.51

ความชื้นสัมพัทธ์ต่ำสุดเฉลี่ย (เปอร์เซ็น) 

๕๔.๙๒ 

๕๑.๙๔ 

47.80



(ที่มา : สถานีอุตุนิยมวิทยานางรอง อ.นางรอง จังหวัดบุรีรัมย์) 

การใช้ประโยชน์ที่ดิน 

จังหวัดบุรีรัมย์มีพื้นที่ทั้งหมด 6,451,178 ไร่ สภาพการใช้ประโยชน์ที่ดินของจังหวัด ประกอบด้วย 5 ส่วนหลัก ได้แก่ (1) พื้นที่เกษตรกรรม (2) พื้นที่ปุาไม้ (3) พื้นที่น้ำ (4) พื้นที่ชุมชนและ สิ่งปลูกสร้าง และ(5) พื้นที่เบ็ดเตล็ด ซึ่งพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่เกษตรกรรม สำหรับปี พ.ศ. 2562 มี พื้นที่เกษตรกรรมร้อยละ 77.25 (ลดลงจากปี 2560 ร้อยละ -0.83) รองลงมาเป็นพื้นที่ปุาไม้ร้อยละ  9.59 (เพิ่มขึ้นจากปี 2560 ร้อยละ 0.28 ) ถัดมาคือพื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้างร้อยละ 7.40 (เพิ่มขึ้นจากปี 2560 ร้อยละ 0.06) ถัดมาคือพื้นที่น้ำคิดเป็นร้อยละ 4.18 (เพิ่มขึ้นจากปี 2560 ร้อยละ 0.35) และสุดท้ายคือพื้นที่เบ็ดเตล็ดคิดเป็นร้อยละ 1.58 (เพิ่มขึ้นจากปี 2560 ร้อยละ 0.14)



ตารางที่ 4 ข้อมูลแสดงการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทต่างๆ จำแนกรายปี

การใช้ประโยชน์ที่ดิน 

ประเภทต่างๆ

ปี พ.ศ. 2558 

ปี พ.ศ. 2560 

ปี พ.ศ. 2562 

ร้อยละ 

เปลี่ยนแปลง 

(2562-2560) 

พื้นที่ (ไร่) 

ร้อยละ 

พื้นที่ (ไร่) 

ร้อยละ 

พื้นที่ (ไร่) 

ร้อยละ

1. พื้นที่เกษตรกรรม 

5,012,063 

77.71 

5,037,119 

78.08 

4,983,271 

77.25 

-0.83

1.1 พื้นที่นา 

3,444,131 

53.38 

3,312,381 

51.34 

3,208,085 

49.73 

-1.61

1.1.1 นาข้าว+พืชอื่นๆ 

3,440,879 

53.33 

3,307,183 

51.26 

3,196,567 

49.55 

-1.71

1.1.2 นาร้าง 

3,252 

0.05 

5,198 

0.08 

4,197 

0.07 

-0.01

1.2 พืชไร่ 

942,224 

14.61 

1,094,838 

16.97 

1,173,147 

18.18 

1.21

1.3 ไม้ยืนต้น 

594,753 

9.24 

596,406 

9.24 

564,614 

8.75 

-0.49

1.4 ไม้ผล 

15,134 

0.23 

13,697 

0.22 

16,807 

0.28 

0.06

1.5 พืชสวน 

1,569 

0.02 

2,896 

0.04 

2,938 

0.05 

0.01

1.6 ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์และ โรงเรือนเลี้ยงสัตว์

10,191 

0.16 

11,605 

0.19 

12,052 

0.19 

0

1.7 สถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ 

4,553 

0.07 

5,063 

0.08 

5,328 

0.08 

0

1.8 เกษตรผสมผสาน/ไร่นา สวนผสม

81 

233 

300 

0.01 

0.01

2. พื้นที่ป่าไม้ 

632,101 

9.80 

600,285 

9.31 

619,364 

9.59 

0.28

2.1 ปุาไม่ผลัดใบรอสภาพ ฟื้นฟู

47 

43 

617 

0.01 

0.01

2.2 ปุาไม่ผลัดใบสมบูรณ์ 

333,806 

5.18 

333,803 

5.17 

359,302 

5.57 

0.4

2.3 ปุาผลัดใบรอสภาพฟื้นฟู 

23,261 

0.36 

25,008 

0.39 

24,110 

0.37 

-0.02

2.4 ปุาผลัดใบสมบูรณ์ 

260,814 

4.04 

227,258 

3.52 

219,985 

3.41 

-0.11

2.5 ปุาปลูกรอสภาพฟื้นฟู 

6,617 

0.10 

232 

0.01 

232 

-0.01

2.6 ปุาปลูกสมบูรณ์ 

7,556 

0.12 

13,941 

0.22 

15,118 

0.23 

0.01

3. พื้นที่น้ำ 

240,851 

3.74 

247,262 

3.83 

269,471 

4.18 

0.35

3.1 แม่น้ำ ลำห้วย ลำคลอง 

79,956 

1.24 

80,264 

1.24 

84,402 

1.31 

0.07

3.2 หนอง บึง ทะเลสาบ 

43,342 

0.67 

43,474 

0.68 

43,842 

0.68 

0

3.3 อ่างเก็บน้ำ 

83,674 

1.30 

84,647 

1.31 

85,558 

1.33 

0.02

3.4 บ่อน้ำในไร่นา 

28,255 

0.44 

32,981 

0.51 

49,692 

0.77 

0.26

3.5 คลองชลประทาน 

5,624 

0.09 

5,896 

0.09 

5,977 

0.09 

0

4. พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง 

452,957 

7.01 

473,511 

7.34 

476,892 

7.40 

0.06

4.1 ตัวเมืองและย่านการค้า 

24,777 

0.38 

24,807 

0.38 

27,491 

0.43 

0.05

4.2 หมู่บ้าน/ที่ดินจัดสรรร้าง 

149 

458 

0.01 

202 

-0.01

4.3 หมู่บ้านบนพื้นราบ 

320,137 

4.96 

332,933 

5.16 

329,234 

5.10 

0.06

4.4 สถานที่ราชการและสถาบัน ต่างๆ

64,096 

0.99 

65,311 

1.01 

64,404 

1.00 

0.01

4.5 สนามบิน 

2,549 

0.04 

2,549 

0.04 

2,549 

0.04 

0





ตารางที่ 4 ข้อมูลแสดงการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทต่างๆ จำแนกรายปี(ต่อ) 

การใช้ประโยชน์ที่ดิน 

ประเภทต่างๆ

ปี พ.ศ. 2558 

ปี พ.ศ. 2560 

ปี พ.ศ. 2562 

ร้อยละ 

เปลี่ยนแปลง 

(2562-2560) 

พื้นที่ (ไร่) 

ร้อยละ 

พื้นที่ (ไร่) 

ร้อยละ 

พื้นที่ (ไร่) 

ร้อยละ

4.6 ถนน 

26,591 

0.41 

26,707 

0.42 

32,311 

0.50 

0.08

4.7 ทางรถไฟ 

405 

0.01 

405 

0.01 

404 

0.01 

0

4.8 พื้นที่อุตสาหกรรมร้าง 

112 

112 

102 

0

4.9 โรงงานอุตสาหกรรม 

11,253 

0.18 

15,223 

0.24 

14,659 

0.23 

-0.01

4.10 ลานตากและแหล่งรับ ซื้อทางการเกษตร

761 

0.01 

934 

0.01 

1,184 

0.02

0.01

4.11 สถานที่ร้าง 

65 

65 

95 

0

4.12 สถานที่พักผ่อนหย่อนใจ 

1,158 

0.02 

2,640 

0.04 

2,629 

0.04 

0

4.13 รีสอร์ท โรงแรม เกสต์เฮาส์ 

288 

516 

0.01 

669 

0.01 

0

4.14 สุสาน ปุาช้า 

215 

240 

327 

0.01 

0.01

4.15 สถานีบริการน้ำมัน 

401 

0.01 

611 

0.01 

632 

0.01 

0

5. พื้นที่เบ็ดเตล็ด 

112,633 

1.74 

93,001 

1.44 

102,180 

1.58 

0.14

5.1 ทุ่งหญ้าธรรมชาติ 

19,988 

0.31 

13,827 

0.21 

12,998 

0.20 

-0.01

5.2 ทุ่งหญ้าสลับไม้พุ่ม/ไม้ ละเมาะ

51,930 

0.81 

40,874 

0.63 

51,400 

0.80 

0.17

5.3 พื้นที่ลุ่ม 

31,627 

0.49 

27,028 

0.42 

24,680 

0.38 

-0.04

5.4 เหมืองเก่า บ่อขุดเก่า 

585 

0.01 

254 

0.01 

735 

0.01 

0

5.5 เหมืองแร่ 

3,917 

0.06 

4,209 

0.07 

3,956 

0.06 

-0.01

5.6 บ่อลูกรัง 

758 

0.01 

804 

0.01 

774 

0.01 

0

5.7 บ่อทราย 

47 

76 

114 

0

5.8 บ่อดิน 

2,628 

0.04 

2,554 

0.04 

2,504 

0.04 

0

5.9 พื้นที่กองวัสดุ 

11 

10 

0

5.10 พื้นที่ถม 

868 

0.01 

2,347 

0.04 

2,504 

0.04 

0

5.11 ที่ทิ้งขยะ 

274 

274 

285 

0.01 

0.01

รวม 

6,451,178 

100 

6,451,178 

100 

6,451,178 

100

 



(ข้อมูลจัดเก็บ 2 ปีครั้ง ที่มา : เว็บไซต์กรมพัฒนาที่ดิน http://www1.ldd.go.th/WEB_OLP/report_research_NE.html)




 

ครงสร้างพื้นฐาน 

การคมนาคมขนส่ง 

จังหวัดบุรีรัมย์ มีทางหลวงแผ่นดิน ทางหลวงจังหวัด ตลอดจนทางหลวงท้องถิ่น  (ทางหลวงชนบท) ที่สามารถใช้เดินทางติดต่อภายในจังหวัด และระหว่างจังหวัดได้สะดวกทุกฤดูกาล  มีเส้นทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือผ่านจังหวัดบุรีรัมย์ในเขตท้องที่อำเภอลำปลายมำศ อำเภอ เมือง อำเภอห้วยราช และอำเภอกระสัง นอกจากนั้นยังสามารถเดินทาง ทางอากาศโดยเครื่องบินได้ โดยมีเครื่องบินของบริษัทนกแอร์จำกัด และบริษัทไทยแอร์เอเชีย จำกัดเดินทางจากสนามบินจังหวัด 

บุรีรัมย์-กรุงเทพ ,กรุงเทพฯ-บุรีรัมย์ ทุกวัน เที่ยวบิน ไป-กลับ 

 การสาธารณูปโภค 

 - ไฟฟ้า 

ตารางที่ 5 ข้อมูลสถิติผู้ใช้ไฟฟ้า จำแนกรายปี  

ที่ 

ประเภทผู้ใช้(ราย) 

ปี พ.ศ. 2560 

ปี พ.ศ. 2561 

ปี พ.ศ. 2562

จำนวนการไฟฟ้า (แห่ง) 

18 

18 

18

จำนวนผู้ใช้ไฟฟ้า (ราย) 

410,899 

420,264 

429,454

บ้านอยู่อาศัย (น้อยกว่า 150 กิโลวัตต์- ชั่วโมงต่อเดือน) 

271,772 

274,438 

273,723

บ้านอยู่อาศัย (150 และมากกว่า  กิโลวัตต์-ชั่วโมงต่อเดือน) 

101,480 

106,717 

115,564

กิจการขนาดเล็ก 

30,866 

31,726 

32,326

กิจการขนาดกลาง 

873 

929 

981

กิจการขนาดใหญ่ 

47 

51 

53

กิจการเฉพาะอย่าง 

100 

109 

121

ส่วนราชการและองค์กรที่ไม่แสวงหากำไร 

-

10 

สูบน้ำเพื่อการเกษตร 

101 

116 

131

11 

ไฟชั่วคราว 

5,660 

6,178 

6,555

12 

อัตราไฟสำรอง 

-

13 

อัตราไฟที่สามารถงดจ่ายไฟได้ 

-

14 

สถานีอัดประจุไฟฟูา 

 

-



(ที่มา : เว็บไซต์สำนักงานสถิติแห่งชาติ http://statbbi.nso.go.th/staticreport/page/sector/th/13.aspx)





 

ตารางที่ 6 ข้อมูลการจำหน่ายพลังงานไฟฟ้า จำแนกรายปี 

ที่ 

ประเภทผู้ใช้(กิโลวัตต์-ชั่วโมง) 

ปี พ.ศ. 2560 

ปี พ.ศ. 2561 

ปี พ.ศ. 2562

พลังงานไฟฟูาที่จำหน่ายและใช้  

(กิโลวัตต์-ชั่วโมง)

1,075,055,448 

1,134,807,097 

1,204,624,103

บ้านอยู่อาศัย (น้อยกว่า 150 กิโลวัตต์- ชั่วโมงต่อเดือน)

230,762,517 

233,250,511 

231,126,651

บ้านอยู่อาศัย (150 และมากกว่า กิโลวัตต์-ชั่วโมงต่อเดือน)

270,167,450 

282,952,402 

328,333,633

กิจการขนาดเล็ก 

179,168,527 

185,535,798 

196,904,213

กิจการขนาดกลาง 

217,893,947 

227,761,207 

237,810,822

กิจการขนาดใหญ่ 

151,568,519 

174,824,412 

179,650,422

กิจการเฉพาะอย่าง 

14,387,665 

15,731,738 

18,324,907

ส่วนราชการและองค์กรที่ไม่แสวงหา กำไร

13,262 

442 

-

สูบน้ำเพื่อการเกษตร 

1,641,758 

5,040,089 

2,713,931

10 

ไฟชั่วคราว 

9,451,803 

9,710,498 

9,759,524

11 

อัตราไฟสำรอง 

-

12 

อัตราไฟที่สามารถงดจ่ายไฟได้ 

-

13 

สถานีอัดประจุไฟฟูา 

 

-



 - น้ำประปา 

ตารางที่ 7 ข้อมูลด้านน้ำประปาจังหวัดบุรีรัมย์ จำแนกรายปี 

ที่

ข้อมูล

ปี พ.ศ.

 

2560 

2561 

2562

จำนวนผู้ใช้น้ำ (ราย)

62,606 

64,876 

68,721 

ปริมาณการผลิต (ล้านลูกบาศก์เมตร)

20.1117 

20.807168 

21.919934 

ปริมาณการจำหน่าย (ล้านลูกบาศก์เมตร)

15.1447 

15.759164 

16.961752 

เฉลี่ยการใช้น้ำ (ลบ.ม./ราย/เดือน)

20.1587 

20.24 

20.57 



(ที่มา: การประปาส่วนภูมิภาคจังหวัดบุรีรัมย์ ) 

 

 

- การใช้พลังงาน 

ตารางที่ 8 ข้อมูลแหล่งผลิตไฟฟ้า จำแนกรายปี 

 

ข้อมูล

ปี พ.ศ.

ที่ 

2560 

2561 

2562

โรงไฟฟูาก๊าซชีวภาพ (แห่ง) 

3

โรงไฟฟูาชีวมวล (แห่ง) 

7

โรงไฟฟูาพลังงานลม (แห่ง) 

0

โรงไฟฟูาพลังงานแสงอาทิตย์(แห่ง) 

9



(ที่มา: สำนักงานพลังงานจังหวัดบุรีรัมย์) 

ตารางที่ 9 ปริมาณน้ำมันเชื้อเพลิงที่ผู้ค้าน้ำมันจำหน่ายให้ลูกค้า จำแนกตามชนิดน้ำมันเชื้อเพลิง จำแนกรายปี 

ที่ 

ข้อมูล

ปี พ.ศ.

2560 

2561 

2562

น้ำมันเบนซิน (พันลิตร) 

115,025.94 

117,035.40 

114,389.00

น้ำมันดีเซล (พันลิตร) 

301,587.51 

289,432.03 

252,392.00

ดีเซลหมุนช้า (พันลิตร)

-

  

ก๊าซปิโตรเลียมเหลว (พัน กก.) 

31,519.07 

32,235.14 

31,506.00

น้ำมันเตา (พันลิตร) 

521.14 

446.76 

788.00



(ที่มา : เว็บไซต์สำนักงานสถิติแห่งชาติ http://statbbi.nso.go.th/staticreport/page/sector/th/13.aspx) - สถิติเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 

ตารางที่ 10 ร้อยละของประชากรที่เข้าถึงอินเตอร์เน็ต (%) จำแนกรายปี 

ที่ 

ข้อมูล

ปี พ.ศ.

2560 

2561 

2562

ร้อยละของประชากรที่เข้าถึง อินเตอร์เน็ต (%)

36.2 

43.5 

53.5



(ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ (เล่มดัชนีความก้าวหน้าของคนปี 62))



ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ 

  1. ข้อมูลเศรษฐกิจ 

ตารางที่ 11 ผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัด (GPP) และ รายได้เฉลี่ยต่อหัวของประชากร ณ ราคา ประจำปีจำแนกรายปี 

 

ข้อมูล 

ปี พ.ศ. 

ที่ 

2559 

2560 

2561

ผลิตภัณฑ์มวลรวม (GPP) (ล้านบาท) 

82,453 

85,299 

82,429

รายได้เฉลี่ยประชากร (บาท/คน/ปี) 

66,540 

69,158 

67,142



(ที่มา : รายงานผลิตภัณฑ์ภาคและจังหวัด แบบปริมาณลูกโซ่ฉบับ พ.ศ. 2561 ของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ (สศช.)) 

ตารางที่ 12 ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP) จำแนกตามประเภท/รายปี(หน่วย :ล้านบาท) 

 

ปี 2559 

ปี 2560 

ปี 2561

1. ภาคเกษตรกรรม 

20,095 

19,981 

16,308

1.1 เกษตรกรรม การปุาไม้ และการประมง 

20,095 

19,981 

16,308

2. นอกภาคเกษตรกรรม 

62,358 

65,318 

66,121

หมวดอุตสาหกรรม 

13,813 

15,098 

15,133

2.1 การทำเหมืองแร่ และเหมืองหิน 

368 

453 

469

2.2 การผลิต 

12,138 

13,241 

13,336

2.3 ไฟฟูา ก๊าซ ไอน้ำ และระบบปรับอากาศ 

1,098 

1,152 

1,075

2.4 การจัดการน้ำ การจัดการและการบำบัดน้ำเสีย ของเสียและสิ่งปฏิกูล 

209 

253 

253

หมวดการบริการ 

48,545 

50,220 

50,988

2.5 การก่อสร้าง 

3,122 

3,151 

3,900

2.6 การขายส่ง และการขายปลีก การซ่อมแซมยานยนต์ 

10,629 

11,275 

11,011

2.7 การขนส่ง และสถานที่เก็บสินค้า 

1,230 

1,383 

1,467

2.8 ที่พักแรมและบริการด้านอาหาร 

395 

464 

521

2.9 ข้อมูลข่าวสารและการสื่อสาร 

436 

534 

620

2.10 กิจการทางการเงินและการประกันภัย 

6,491 

6,775 

7,058

2.11 กิจการอสังหาริมทรัพย์ 

3,592 

3,838 

3,675

2.12 กิจกรรมทางวิชาชีพ วิทยาศาสตร์ และเทคนิค 

14 

15 

15

2.13 กิจกรรมการบริหารและการบริการสนับสนุน 

71 

85 

117

2.14 การบริหารราชการ การปูองกันประเทศ และการประกันสังคมภาคบังคับ 

3,762 

3,837 

4,054

2.15 การศึกษา 

14,373 

14,368 

13,728

2.16 กิจกรรมด้านสุขภาพ และงานสังคมสงเคราะห์ 

2,404 

2,516 

2,709

2.17 ศิลปะ ความบันเทิง และนันทนาการ 

911 

716 

887

2.18 กิจกรรมบริการด้านอื่นๆ 

1,114 

1,262 

1,226

รวม 

82,453 

85,299 

82,429



(ที่มา : รายงานผลิตภัณฑ์ภาคและจังหวัด แบบปริมาณลูกโซ่ฉบับ พ.ศ. 2561 ของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ (สศช.))

 

แผนภูมิที่ 1 แสดงสัดส่วนมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดบุรีรัมย์ ณ ราคาประจำปี ปี 2561  จำแนกตามสาขาการผลิต 

(ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.)) 

แผนภูมิที่ 2 แสดงมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดบุรีรัมย์ ณ ราคาประจำปี ปี2555-2561  (ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.))

 

สภาพทางเศรษฐกิจ โครงสร้างทางเศรษฐกิจของจังหวัดบุรีรัมย์ ขึ้นกับการผลิต ๔ สาขาหลัก ได้แก่ สาขาเกษตร สาขาการค้า สาขาอุตสาหกรรม และสาขาการบริการ - ภาคการเกษตร ด้านการเกษตร จังหวัดบุรีรัมย์มีพืชเศรษฐกิจที่สำคัญ 4 ชนิด  ได้แก่ ข้าว อ้อย มันสำปะหลัง และยางพารา ดังนี้ 

 1) ข้าว  

-ข้าวเปลือกทุกชนิด (ยกเว้นข้าวหอมมะลิ) 

ตารางที่ 13 ข้อมูลพื้นที่เพาะปลูกข้าวเปลือกทุกชนิด (ยกเว้นข้าวหอมมะลิ) และผลผลิต จำแนกรายปี 

ที่ 

ข้าวทั่วไป 

ปี พ.ศ. 

2560 

2561 

2562

พื้นที่เพาะปลูก (ไร่) 

273,491 

89,195 

147,038

ผลผลิต (ตัน) 

113,498.77 

30,504 

46,299.65

ผลผลิตต่อไร่ (กก./ไร่) 

415 

380 

384

ราคาเฉลี่ย/ตัน (บาท) 

10,476 

11,000 

10,975

มูลค่ารวม (ล้านบาท) 

1,189.01 

335.54 

508.14

จำนวนเกษตรกร (ราย) 

21,037 

12,043 

11,310



(ที่มา : สำนักงานเกษตรจังหวัดบุรีรัมย์) 

 -ข้าวเปลือกหอมมะลิ 

ตารางที่ 14 ข้อมูลพื้นที่เพาะปลูกข้าวหอมมะลิและผลผลิต จำแนกรายปี 

ที่ 

ข้าวหอมมะลิ 

ปี พ.ศ. 

 

2560 

2561 

2562

พื้นที่เพาะปลูก (ไร่) 

2,532,728 

2,696,002 

2,752,543 

ผลผลิต (ตัน) 

964,209.55 

893,716 

765,057.97 

ผลผลิตต่อไร่ (กก./ไร่) 

380.7 

365 

347 

ราคาเฉลี่ย/ตัน (บาท) 

11,120 

13,000 

12,700 

มูลค่ารวม (ล้านบาท) 

10,722.01 

11,618 

9,716.23 

จำนวนเกษตรกร (ราย) 

181,278 

195,741 

203,402 



(ที่มา : สำนักงานเกษตรจังหวัดบุรีรัมย์)

 

2) มันสำปะหลัง 

ตารางที่ 15 ข้อมูลพื้นที่เพาะปลูกมันสำปะหลังและผลผลิต จำแนกรายปี 

ที่ 

มันสำปะหลัง 

ปี พ.ศ. 

2560 

2561 

2562

พื้นที่เพาะปลูก (ไร่) 

281,494 

312,566 

357,833

ผลผลิต (ตัน) 

1,266,723 

1,275,269.28 

1,321,477.27

ผลผลิตต่อไร่ (กก./ไร่) 

4,500 

4,080 

3,693

ราคาเฉลี่ย/ตัน (บาท) 

1,820 

2,770 

1,910

มูลค่ารวม (ล้านบาท) 

2,305.44 

3,532.49 

2,524.02

จำนวนเกษตรกร (ราย) 

24,777 

21,155 

25,154



(ที่มา : สำนักงานเกษตรจังหวัดบุรีรัมย์) 

 3) อ้อย 

ตารางที่ 16 ข้อมูลพื้นที่เพาะปลูกอ้อยและผลผลิต จำแนกรายปี 

ที่ 

อ้อย

ปี พ.ศ. 

2560 

2561 

2562

พื้นที่เพาะปลูก (ไร่) 

270,624 

280,915.25 

261,041

พื้นที่เก็บเกี่ยว (ไร่) 

270,624 

264,237 

207,220

ผลผลิต (ตัน) 

2,976,864 

2,970,033 

2,151,821

ผลผลิตต่อไร่ (กก./ไร่) 

11,000 

11,240 

10,384

ราคาเฉลี่ย/ตัน (บาท) 

988 

770 

710

มูลค่ารวม (ล้านบาท) 

2,941.14 

2,286.92 

1,527.79

จำนวนเกษตรกร (ราย) 

18,045 

16,378 

16,799



(ที่มา : สำนักงานเกษตรจังหวัดบุรีรัมย์) 

ตารางที่ 17 ข้อมูลการผลิตอ้อยโรงงาน จำแนกรายปี 

โรงงานอ้อย 

พ.ศ.2560 

พ.ศ.2561 

พ.ศ.2562

แห่ง 

กำลังการผลิต 

แห่ง 

กำลังการผลิต 

แห่ง 

กำลังการผลิต

บริษัท โรงงานน้ำตาล 

บุรีรัมย์ จำกัด

23,000 

17,000 

17,000



(ที่มา : สำนักงานเกษตรจังหวัดบุรีรัมย์)

 

4) ยางพารา 

ตารางที่ 18 ข้อมูลพื้นที่เพาะปลูกยางพาราและผลผลิต จำแนกรายปี 

ที่ 

ยางพารา

ปี พ.ศ. 

2560 

2561 

2562

พื้นที่เพาะปลูก (ไร่) 

272,536 

277,407 

271,859

เนื้อที่กรีดยาง (ไร่) 

194,563 

204,598 

193,726

ผลผลิต (ตัน) 

41,831 

43,683 

43,529.40

ผลผลิตต่อไร่ (กก./ไร่) 

215 

213.50 

224

ราคาเฉลี่ย/ตัน (บาท) 

47,000 

30,240 

34,650

มูลค่ารวม (ล้านบาท) 

1,966.06 

1,320.97 

1,508.29

จำนวนเกษตรกร (ราย) 

17,572 

16,488 

16,660



(ที่มา : สำนักงานเกษตรจังหวัดบุรีรัมย์) 

 - ด้านปศุสัตว์ 

จังหวัดบุรีรัมย์มีสัตว์เศรษฐกิจที่สำคัญ 5 ประเภท ได้แก่ โคเนื้อ โคนม กระบือ  ไก่เนื้อและไก่ไข่ ดังนี้ 

 1) โคเนื้อ 

ตารางที่ 19 ข้อมูลการเลี้ยงโคเนื้อ จำแนกรายปี 

ที่ 

โคเนื้อ 

ปี พ.ศ. 

2560 

2561 

2562

จำนวนฟาร์มตามมาตรฐานของกรมปศุสัตว์  (แห่ง)

1

จำนวนโคเนื้อที่เลี้ยง (ตัว) 

201,158 

230,436 

275,853

จำนวนเกษตรกรที่เลี้ยง(ราย) 

37,576 

38,679 

39,020

ราคาเฉลี่ยเนื้อชำแหละแล้ว(บาท/กก.) 

290 

280 

300

ราคาเฉลี่ย (บาท/ตัว) 

30,000 

30,000 

32,000

มูลค่ารวม (เฉลี่ย/ตัว x จำนวนโค) 

6,034,740,000 

6,913,080,000 

8,827,296,000

จำนวนโรงฆ่าสัตว์ (แห่ง) 

1



(ที่มา : สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดบุรีรัมย์และ เว็บไซต์ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ http://ict.dld.go.th/webnew/index.php/th/service-ict/report/247-report-thailand-livestock)

 

2) โคนม 

ตารางที่ 20 ข้อมูลการเลี้ยงโคนม จำแนกรายปี 

ที่ 

โคนม 

ปี พ.ศ. 

2560 

2561 

2562

1

จำนวนฟาร์มตามมาตรฐาน ของกรมปศุสัตว์ (แห่ง)

34 

39

จำนวนโคนมที่เลี้ยง (ตัว) 

4,800 

5,342 

6,795

จำนวนเกษตรกรที่เลี้ยง(ราย) 

131 

126 

130

4

ปริมาณน้ำนมที่รีดได้ทั้งปี  (กก.)

5,574,271.50 

10,074,000.00 

10,714,356.00

ราคาเฉลี่ย (บาท/กก.) 

18.79 

19.00 

19.50

มูลค่ารวมน้ำนมดิบ (บาท) 

104,740,561 

191,406,000 

208,929,942



(ที่มา : สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดบุรีรัมย์ และ เว็บไซต์ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ http://ict.dld.go.th/webnew/index.php/th/service-ict/report/247-report-thailand-livestock)  3) กระบือ 

ตารางที่ 21 ข้อมูลการเลี้ยงกระบือ จำแนกรายปี 

ที่ 

กระบือ

ปี พ.ศ. 

2560 

2561 

2562

1

จำนวนฟาร์มตามมาตรฐานของกรมปศุ สัตว์ (แห่ง) 

-

จำนวนกระบือที่เลี้ยง (ตัว) 

85,313 

95,935 

105,170

จำนวนเกษตรกรที่เลี้ยง(ราย) 

16,709 

17,072 

17,120

ราคาเฉลี่ยเนื้อชำแหละแล้ว(บาท/กก.) 

290 

280 

290

ราคาเฉลี่ย (บาท/ตัว) 

40,000 

40,000 

41,000

6

มูลค่ารวม (ราคาเฉลี่ย บาท/ตัว xจำนวน กระบือ) 

3,412,520,000 

3,837,400,000 

4,311,970,000



(ที่มา : สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดบุรีรัมย์ และ เว็บไซต์ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ http://ict.dld.go.th/webnew/index.php/th/service-ict/report/247-report-thailand-livestock)  

 

4) ไก่เนื้อ 

ตารางที่ 22 ข้อมูลการเลี้ยงไก่เนื้อ จำแนกรายปี 

ที่ 

ไก่พันธุ์เนื้อ 

ปี พ.ศ.

2560 

2561 

2562

จำนวนฟาร์มตามมาตรฐานของกรมปศุ สัตว์ (แห่ง)

180 

180 

178

จำนวนไก่ที่เลี้ยง (ตัว) 

9,373,519 

9,023,080 

9,214,567

จำนวนเกษตรกรที่เลี้ยง(ราย) 

963 

962 

975

ราคาเฉลี่ย (บาท/กก.) 

34.00 

35.00 

35.00

ราคาเฉลี่ย (บาท/ตัว) 

68.00 

98.50 

98.50

มูลค่ารวม (บาท) 

637,399,292 

888,773,380 

907,634,849.5



(ที่มา : สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดบุรีรัมย์ และ เว็บไซต์ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ http://ict.dld.go.th/webnew/index.php/th/service-ict/report/247-report-thailand-livestock) 

 5) ไก่ไข่ 

ตารางที่ 23 ข้อมูลการเลี้ยงไก่ไข่ จำแนกรายปี 

ที่ 

ไก่พันธุ์ไข่

ปี พ.ศ.

2560 

2561 

2562

1

จำนวนฟาร์มตามมาตรฐานของ 

กรมปศุสัตว์ (แห่ง)

21 

15 

12

จำนวนไก่ที่เลี้ยง (ตัว) 

137,704 

127,770 

164,928

จำนวนเกษตรกรที่เลี้ยง(ราย) 

4,466 

4,380 

4,851

ปริมาณไข่ไก่ (ฟอง) 

42,688,240 

42,000,000 

42,560,000

ราคาเฉลี่ย (บาท/ฟอง) 

5

มูลค่าไข่ไก่รวม (บาท/ปี) 

128,064,720 

126,000,000 

212,800,000



(ที่มา : สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดบุรีรัมย์ และ เว็บไซต์ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ http://ict.dld.go.th/webnew/index.php/th/service-ict/report/247-report-thailand-livestock)

 

- ภาคอุตสาหกรรม ข้อมูล ปี 2562 มีโรงงานอุตสาหกรรม จำนวน 404 แห่ง  เงินลงทุน 30,476.33 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 2,737.17 ล้านบาท ส่วนใหญ่เป็นโรงงาน อุตสาหกรรมการเกษตร เช่น โรงสีข้าว โรงงานแปรรูปมันสำปะหลัง โรงงานน้ำตาล โรงงานผลิตยาง แผ่น ยางแท่ง เป็นต้น การลงทุนส่วนใหญ่เป็นภาคการเกษตร รองลงมาได้แก่ อาหาร เครื่องดื่ม  เสื้อผ้า และเครื่องแต่งกาย 

ตารางที่ 24 จำนวนโรงงานอุตสาหกรรมและเงินลงทุน จำแนกรายปี 

ที่ 

รายการ 

ปี2560 

ปี 2561 

ปี 2562

โรงงานอุตสาหกรรม (แห่ง) 

582 

579 

404

เงินลงทุน (ล้านบาท) 

27,251.50 

27,739.16 

30,476.33



(ที่มา: สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดบุรีรัมย์) 

ตารางที่ 25 จำนวนโรงงานอุตสาหกรรมแยกตามประเภท/สาขาอุตสาหกรรมในจังหวัดบุรีรัมย์ จำแนกรายปี 

ประเภท/สาขาอุตสาหกรรม

ปี พ.ศ. 2560 

ปี พ.ศ. 2561 

ปี พ.ศ. 2562

จำนวน 

(แห่ง)

เงินทุน 

(ล้านบาท) 

จำนวน 

(แห่ง)

เงินทุน 

(ล้านบาท) 

จำนวน 

(แห่ง)

เงินทุน 

(ล้านบาท) 

1. การเกษตร 

83 

3,271.39 

84 

3,685.52 

78 

8,283.84

2. อาหาร 

61 

2,592.47 

63 

2,636.47 

58 

1,552.61

3. เครื่องดื่ม 

2,531.07 

2,531.08 

308.50

4. สิ่งทอ 

180.8 

180.80 

26.90

5. เครื่องแต่งกาย 

15 

994.44 

12 

849.29 

11 

465.09

6. เครื่องหนัง 

303.28 

303.29 

295.72

7. ไม้และผลิตภัณฑ์ไม้ 

43 

794.58 

46 

794.24 

45 

859.99

8. เฟอร์นิเจอร์และเครื่องเรือน 

14 

31.99 

14 

31.99 

10.84

9. กระดาษและผลิตภัณฑ์จาก กระดาษ

0.00 

280.00

10. สิ่งพิมพ์ 

18.8 

18.80 

11.00

11. เคมี 

12 

188.61 

174.45 

95.20

12. ปิโตรเคมีและผลิตภัณฑ์ 

13 

412.65 

14 

447.33 

16 

508.94

13. ยาง 

16 

543.69 

16 

543.70 

12 

2,074.80

14. พลาสติก 

52.05 

56.04 

90.43

15. อโลหะ 

89 

1,459.55 

89 

1,474.97 

58 

977.92

16. โลหะ 

1.00 

1.00 

0.00

17. ผลิตภัณฑ์โลหะ 

59 

257.26 

59 

289.26 

22 

175.90

18.เครื่องจักรกล 

18 

69.62 

18 

69.62 

44.00

19. ไฟฟูา 

23 

11,293.82 

24 

11,411.02 

0.00

20. ขนส่ง 

62 

1,266.78 

58 

1,269.60 

14 

1,008.94

21. อื่นๆ 

57 

987.58 

55 

970.69 

60 

13,405.71

รวม 

582 

27,251.50 

579 

27,739.16 

404 

30,476.33



(ที่มา: สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดบุรีรัมย์)

 

- ภาคการพาณิชยกรรม/การค้าชายแดน รวมถึงการค้าและบริการ ธุรกิจการค้าที่ สำคัญในจังหวัด คือ ธุรกิจค้าส่ง ประเภทวัตถุดิบยานยนต์/อุปกรณ์ชิ้นส่วน สิ่งทอ วัสดุก่อสร้าง มูลค่า ประมาณร้อยละ 60 และธุรกิจค้าปลีก สำหรับการค้าชายแดนจุดผ่อนปรนการค้าจังหวัดบุรีรัมย์ ช่อง สายตะกู-จุ๊บโกกี ตั้งอยู่ตำบลจันทบเพชร อำเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ ซึ่งจุดผ่านแดนสายตะกู-จุ๊บ โกกี ได้เปรียบในเชิงยุทธศาสตร์ด้านการค้า การท่องเที่ยว และโลจิสติกส์ เป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากเป็น เส้นทางเชื่อมโยงจาก กรุงเทพฯ-นครราชสีมา-บุรีรัมย์-อุดรมีชัย-เสียมเรียบ ด้วยระยะทาง 610  กิโลเมตรเท่านั้น ระยะทางจากช่องสายตะกูไปอำเภอบันเตียอำปึล ระยะทาง 30 กิโลเมตร สภาพ เป็นถนนลาดยาง 20 กิโลเมตร ลูกรัง 10 กิโลเมตร จากอำเภอบันเตียอำปึลไป จังหวัดอุดรมีชัย  ระยะทาง 48 กิโลเมตร (ถนนลาดยาง) จากจังหวัดอุดรมีชัยไปจังหวัดเสียมเรียบ ระยะทาง 130  กิโลเมตร (ลาดยาง) รวมระยะทางจากช่องสายตะกูไปจังหวัดเสียมเรียบ (นครวัด-นครธม) 193  กิโลเมตร ปัจจุบันช่องสายตะกูเป็นเส้นทางเชื่อมโยงที่สั้นที่สุด จังหวัดบุรีรัมย์มีพื้นที่ติดต่อกับจังหวัด อุดรมีชัย ราชอาณาจักรกัมพูชา ในพื้นที่อำเภอบ้านกรวด กับอำเภอบันเตียอำปึล รวม 5 ตำบล 25  หมู่บ้าน การติดต่อแลกเปลี่ยนสินค้า วัฒนธรรมในอดีตที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบันได้ใช้ช่องสายตะกู-จุ๊บ โกกี เป็นช่องทางธรรมชาติ มีการเปิดจุดแลกเปลี่ยนสินค้าเพื่อความมั่นคงและด้านมนุษยธรรม ได้ 

ดำเนินการเปิดค้าขายเมื่อวันที่ 14 กันยายน 2554 สัปดาห์ละ 1 วัน ในวันพุธ ระหว่างเวลา  09.00 – 14.00 น. และต่อมาเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2557 ได้ทำพิธีเปิดเป็นจุดผ่อนปรนการค้า อย่างเป็นทางการ เปิดทำการซื้อขายสินค้า ทุกวัน คือวันจันทร์-อาทิตย์ ตั้งแต่เวลา 09.00-15.00  น. ประเภทสินค้าที่ฝุายไทยจะนำมาขาย ได้แก่ สินค้าอุปโภคและบริโภค สินค้าทางการเกษตร โดยจะ มีการจำกัดริมาณการซื้อขายในสินค้าบางชนิด ประเภทสินค้าที่ฝุายกัมพูชานำมาขาย ได้แก่ สินค้า อุปโภคบริโภค สินค้าทางการเกษตรต่อมาได้เปิดทำการซื้อขายทุกวัน โดยเริ่มตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม  2557 เพื่อเปิดโอกาสให้นักท่องเที่ยวสามารถเที่ยวได้ทุกวัน  

สินค้าส่งออกที่สำคัญ อาทิ น้ำมันเบนซินธรรมดา ไร้สารตะกั่ว/ปูนซีเมนต์ผงบรรจุ แท็งก์ เครื่องปรุงครัวเรือน น้ำมันพืช ผงชูรส พริก น้ำปลา อาหารสด อาหารแห้ง อาหารตามสั่ง  เสื้อผ้า สินค้าเบ็ดเตล็ด สิ้นค้าอื่นๆ  

สินค้านำเข้าสำคัญ อาทิ บุหรี่ เบียร์ สุรา สินค้าตามฤดูกาล (เช่น กบ เขียด อึ่ง ผัก  ผลไม้) เครื่องใช้ไฟฟูาอิเล็คทรอนิกส์ อุปกรณ์เดินปุา ด้าจอบ เสื้อผ้ามือสอง สินค้าอื่นๆ ส่วนสินค้าที่ จำกัดการนำเข้าคือ บุหรี่ เหล้า เบียร์ ด้ามจอบ ด้ามเสียม  

ตารางที่ 26 ตารางแสดงมูลค่าการลงทุนการค้าชายแดน (มูลค่าการนำเข้าและส่งออก) จำแนกรายปี 

ที่ 

รายการ/ปี 

ปี พ.ศ. 2560 

ปีพ.ศ. 2561 

ปี พ.ศ. 2562

มูลค่าการส่งออก (ล้านบาท) 

143.39 

125.03 

71.126

มูลค่าการนำเข้า (ล้านบาท) 

46.48 

32.44 

21.234

ดุลการค้า (ล้านบาท) 

96.91 

92.59 

49.892

มูลค่าการค้ารวม (ล้านบาท) 

189.87 

157.47 

92.360



(ที่มา: สำนักงานพาณิชย์จังหวัดบุรีรัมย์)

 

- ภาคการท่องเที่ยว แหล่งท่องเที่ยวของจังหวัดบุรีรัมย์เป็นการท่องเที่ยวเชิง 

ประวัติศาสตร์เกี่ยวกับอารยธรรมขอมโบราณ เช่น ปราสาทเขาพนมรุ้ง ปราสาทเมืองต่ำ เขาอังคาร  เขาปลายบัด บุรีรัมย์เป็นเมืองภูเขาไฟ มีภูเขาไฟที่ดับแล้ว จำนวน ๖ แห่ง มีปล่องภูเขาไฟที่ชัดเจน โดย เฉพาะที่เขากระโดง ในเขตอำเภอเมืองฯ เป็นแหล่งท่องเที่ยว ที่สำคัญ มีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ  ได้แก่ พื้นที่ชุ่มน้ำบุรีรัมย์ (อ่างเก็บน้ำสนามบินเก่า อ่างเก็บน้ำห้วยตลาด และอ่างเก็บน้ำห้วยจระเข้ มาก) เขตรักษาพันธุ์สัตว์ปุาดงใหญ่ วนอุทยานเขากระโดง มีแหล่งศิลปวัฒนธรรมและวิถีชีวิต ได้แก่  ประเพณีขึ้นเขาพนมรุ้ง ในต้นเดือนเมษายนของทุกปี กลุ่มเตาเผาเครื่องเคลือบพันปี ศูนย์หัตถกรรม อำเภอนาโพธิ์และศูนย์วัฒนธรรมอีสานใต้นอกจากนี้ยังมีแหล่งท่องเที่ยวที่มนุษย์สร้างขึ้น ได้แก่ สนาม ฟุตบอลช้างอารีน่า (เดิมคือสนามฟุตบอลไอโมบาย) สนามแข่งรถมอเตอร์สปอร์ตระดับมาตรฐานโลก  “Chang International Circuit” และจุดผ่อนปรนการค้าช่องสายตะกู 

ตารางที่ 27 ข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวจังหวัดบุรีรัมย์ จำแนกรายปี 

ที่ 

ประเภทแหล่งท่องเที่ยว 

จำนวนแหล่งท่องเที่ยว (แห่ง)

พ.ศ.2560 

พ.ศ.2561 

พ.ศ.2562

แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ 

6

แหล่งท่องเที่ยวเชิงวิถีชีวิต 

11

แหล่งท่องเที่ยวเชิงศิลปะ วัฒนธรรม และแหล่ง มรดกโลก

24 

24 

24

แหล่งท่องเที่ยวเชิงวิชาการ 

3

แหล่งท่องเที่ยวเชิงศาสนาและความเชื่อ 

8

แหล่งท่องเที่ยวเชิงสันทนาการและบันเทิง 

15

 

รวม 

51 

50 

67



(ที่มา: สำนักงานท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดบุรีรัมย์) 

ตารางที่ 28 ข้อมูลจำนวนนักท่องเที่ยวและรายได้จากการท่องเที่ยว จำแนกรายปี 

ด้านการท่องเที่ยว 

ปี พ.ศ. 

2560 

2561 

2562

1. นักท่องเที่ยว (คน) 

1,627,328 

2,014,791 

2,267,080 

- ชาวไทย (คน) 

1,590,783 

1,944,150 

2,190,642 

- ชาวต่างประเทศ (คน) 

36,545 

70,641 

76,538 

2. โรงแรม/ที่พัก (แห่ง) 

234 

237 

272 

3. ห้องพัก (ห้อง) 

5,495 

5,602 

6,478 

4. ค่าใช้จ่ายในการท่องเที่ยว ต่อคนต่อวัน ของจังหวัด (บาท)

1,061.79 

1,191.48 

1,120.74 

5. รายได้ (ล้านบาท) 

2,636.07 

4,246.95 

4,859.91 



(ที่มา: สำนักงานท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดบุรีรัมย์)

 

ตารางที่ 29 เปรียบเทียบจำนวนนักท่องเที่ยวและรายได้จากการท่องเที่ยวของจังหวัดบุรีรัมย์  จำแนกรายปี 

ที่ 

ปี พ.ศ.

จำนวน 

นักท่องเที่ยวใน จังหวัดบุรีรัมย์ 

(คน)

ร้อยละการ 

เปลี่ยนแปลง จากปีก่อน

รายได้จากการ 

ท่องเที่ยวในจังหวัด บุรีรัมย์ (ล้านบาท)

ร้อยละการ 

เปลี่ยนแปลงจาก ปีก่อน

2562 

2,267,080 

+12.52 

4,859.91 

+14.43

2561 

2,014,791 

+23.81 

4,246.95 

+61.09

2560 

1,627,328 

+5.97 

2,636.07 

+13.06

2559 

1,535,714 

+8.16 

2,331.54 

+14.33

2558 

1,419,833 

+13.70 

2,039.37 

+16.10

2557 

1,248,763 

+5.22 

1,756.53 

+5.83

2556 

1,186,759 

+10.18 

1,659.79 

+17.97

2555 

1,077,084 

+15.05 

1,406.93 

+22.52



(ที่มา: สำนักงานท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดบุรีรัมย์) 

- เศรษฐกิจระดับครัวเรือน  

ตารางที่ 30 รายได้เฉลี่ยและรายจ่ายเฉลี่ยต่อคนต่อปีจำแนกรายปี 

ที่ 

รายการ 

ปี พ.ศ. 2560 

ปี พ.ศ. 2561 

ปี พ.ศ. 2562

รายได้เฉลี่ยประชากรต่อคนต่อปี(บาท) 

70,823.53 

69,233.94 

68,213.54

รายจ่ายเฉลี่ยประชากรต่อคนต่อปี(บาท) 

43,742.02 

41,953.03 

40,662.42

เงินคงเหลือเฉลี่ยต่อคนต่อปี(บาท) 

27,081.51 

27,280.91 

27,551.12



(ที่มา: ข้อมูล จปฐ สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดบุรีรัมย์) 

ตารางที่ 31 จำนวนครัวเรือนที่มีรายได้ไม่ผ่านเกณฑ์ 38,000 บาท/คน/ปี (เกณ์ จปฐ) จำแนกรายปี 

รายการ 

ปี พ.ศ. 2560 

ปี พ.ศ. 2561 

ปี พ.ศ. 2562

ครัวเรือนตกเกณฑ์รายได้ต่ำกว่า  38,000 บาท/ปี

1,707 

1,322 

1,078



(ที่มา: ข้อมูล จปฐ สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดบุรีรัมย์) 

ตารางที่ 32 หนี้สินเฉลี่ยต่อครัวเรือน จำแนกตามวัตถุประสงค์ของการกู้ยืม จำแนกรายปี 

ที่ 

รายการ 

ปี พ.ศ. 2558 

ปี พ.ศ. 2560 

ปี พ.ศ. 2562

หนี้สินทั้งสิ้น (บาท) 

159,766.10 

131,638.13 

123,402.66

เพื่อใช้จ่ายในครัวเรือน (บาท) 

69,193.10 

71,607.34 

70,258.68

เพื่อใช้ทำธุรกิจที่ไม่ใช่การเกษตร (บาท) 

9,871.80 

10,856.72 

9,018.04

เพื่อใช้ทำการเกษตร (บาท) 

38,528.20 

21,822.89 

28,059.47

เพื่อใช้ในการศึกษา (บาท) 

1,913.50 

1,718.36 

599.46

เพื่อใช้ซื้อ/เช่าซื้อบ้านและที่ดิน(บาท) 

39,276.60 

23,555.59 

14,055.17

อื่น (บาท) ๆ 

983.00 

2,077.22 

1,411.84



(หมายเหตุ : เก็บข้อมูล 2 ปีครั้ง ที่มา: ข้อมูลเว็บไซต์สำนักงานสถิติแห่งชาติhttp://statbbi.nso.go.th/staticreport/page/sector/th/08.aspx)

 

  1. ข้อมูลด้านสังคมและความมั่นคง 

-ข้อมูลการปกครอง/ประชากร/โครงสร้างประชากร 

ข้อมูล ณ ปี 2562 ประกอบด้วย ๒๓ อำเภอ ๑๘๘ ตำบล ๒,๕๔9 หมู่บ้าน ๑ องค์การบริหารส่วนจังหวัด 3 เทศบาลเมือง ๕9 เทศบาลตำบล ๑46 องค์การบริหารส่วนตำบล  468,483 ครัวเรือน ประชากร 1,595,747 คน เพศชาย 793,262 คน (ร้อยละ 49.71) เพศหญิง  802,485 คน (ร้อยละ 50.29) อำเภอเมืองบุรีรัมย์มีประชากรมากที่สุด มีจำนวน 222,145 คน หรือ 

คิดเป็นร้อยละ 13.92 ส่วนอำเภอโนนสุวรรณมีจำนวนประชากรน้อยที่สุด มีจำนวน 25,305 คน หรือ คิดเป็นร้อยละ 1.59  

แผนภูมิที่ 3 แสดงจำนวนประชากรจังหวัดบุรีรัมย์ พ.ศ. 2562 จำแนกตามเพศและช่วงอายุ

แผนภูมิที่ 4 แสดงพีระมิดประชากร จังหวัดบุรีรัมย์ พ.ศ. 2562

จังหวัดบุรีรัมย์เป็นจังหวัดหนึ่งที่กำลังจะก้าวเข้าสู่สังคมสูงวัย (Age Society) โดยมี สัดส่วนผู้สูงอายุ ร้อยละ 16.4 มีดัชนีสูงวัยเท่ากับ 93.1

ตารางที่ 33 จำนวนประชากร 3 ปีย้อนหลัง รายอำเภอ 

ที่ 

อำเภอ

จำนวนประชากร (คน)

ปีพ.ศ. 2560 

ปีพ.ศ. 2561 

ปีพ.ศ. 2562

อำเภอเมืองบุรีรัมย์ 

220,284 

221,188 

222,145

อำเภอคูเมือง 

67,990 

68,146 

68,061

อำเภอกระสัง 

105,784 

105,971 

105,874

อำเภอนางรอง 

113,697 

113,922 

113,930

อำเภอหนองกี่ 

70,678 

70,705 

70,629

อำเภอละหานทราย 

73,893 

74,168 

74,145

อำเภอประโคนชัย 

137,042 

137,375 

137,571

อำเภอบ้านกรวด 

77,045 

77,281 

77,411

อำเภอพุทไธสง 

46,576 

46,490 

46,291

10 

อำเภอลำปลายมาศ 

134,223 

134,333 

134,315

11 

อำเภอสตึก 

112,531 

112,590 

112,659

12 

อำเภอปะคำ 

45,741 

45,697 

45,671

13 

อำเภอนาโพธิ์ 

32,969 

32,831 

32,671

14 

อำเภอหนองหงส์ 

50,273 

50,368 

50,323

15 

อำเภอพลับพลาชัย 

44,912 

45,154 

45,279

16 

อำเภอห้วยราช 

37,594 

37,658 

37,653

17 

อำเภอโนนสุวรรณ 

25,203 

25,243 

25,305

18 

อำเภอชำนิ 

35,392 

35,458 

35,448

19 

อำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์ 

27,028 

26,971 

26,941

20 

อำเภอโนนดินแดง 

28,246 

28,288 

28,325

21 

อำเภอบ้านด่าน 

31,286 

31,386 

31,446

22 

อำเภอแคนดง 

33,061 

33,159 

33,149

23 

อำเภอเฉลิมพระเกียรติ 

40,457 

40,468 

40,505

รวม 

1,591,905 

1,594,850 

1,595,747



 (ที่มา : ที่ทำการปกครองจังหวัดบุรีรัมย์)

 

ตารางที่ 34 หน่วยการปกครองของจังหวัดบุรีรัมย์ปี พ.ศ.2562 

ที่ 

อำเภอ 

ตำบล 

หมู่บ้าน 

พื้นที่ (ตร.กม.)

องค์กรปกครองท้องถิ่น 

จำนวน 

ประชากร 

(คน)

จำนวน 

ครัวเรือน 

(ครัวเรือน)

ทม. 

ทต. 

อบต.

๑ 

เมืองบุรีรัมย์ 

18 

323 

718,235 

13 

222,145 

77,849

๒ 

นางรอง 

15 

188 

914,000 

14 

113,930 

36,850

๓ 

ประโคนชัย 

16 

182 

890,121 

 

13 

137,571 

39,242

๔ 

พุทไธสง 

97 

329,000 

 

46,291 

14,203

๕ 

ลำปลายมาศ 

16 

216 

802,950 

 

15 

134,315 

37,597

๖ 

สตึก 

12 

179 

803,000 

 

112,659 

32,193

๗ 

กระสัง 

11 

168 

652,700 

 

105,874 

27,633

๘ 

ละหานทราย 

84 

669,000 

 

74,145 

20,993

๙ 

บ้านกรวด 

118 

583,000 

 

77,411 

22,640

๑๐ 

คูเมือง 

106 

442,000 

 

68,061 

19,495

๑๑ 

หนองกี่ 

10 

108 

385,050 

 

70,629 

20,411

๑๒ 

ปะคำ 

77 

269,029 

 

45,671 

14,326

๑๓ 

หนองหงส์ 

100 

335,000 

 

50,323 

13,392

๑๔ 

นาโพธิ์ 

65 

255,000 

 

32,671 

9,430

๑๕ 

พลับพลาชัย 

67 

306,670 

 

45,279 

11,683

๑๖ 

ห้วยราช 

80 

174,500 

 

37,653 

9,388

๑๗ 

โนนสุวรรณ 

56 

189,630 

 

25,305 

7,324

๑๘ 

ชำนิ 

63 

242,000 

 

35,448 

8,930

๑๙ 

โนนดินแดง 

37 

448,060 

 

28,325 

9,141

๒๐ 

เฉลิมพระเกียรติ 

67 

350,000 

 

40,505 

11,643

๒๑ 

บ้านใหม่ไชยพจน์ 

55 

178,000 

 

26,941 

7,360

๒๒ 

บ้านด่าน 

59 

159,000 

 

31,446 

7,680

๒๓ 

แคนดง 

54 

298,000 

 

33,149 

9,080

รวม 

188 

2549 

10,393.945 

59 

146 

1,595,747 

468,483



 (ที่มา : ที่ทำการปกครองจังหวัดบุรีรัมย์) 

ตารางที่ 35 จำนวนและร้อยละขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  

ประเภทองค์กร 

จำนวน (แห่ง) 

ร้อยละ (%)

องค์การบริหารส่วนจังหวัด 

๐.48

เทศบาลเมือง 

1.44

เทศบาลตำบล 

59 

28.23

องค์การบริหารส่วนตำบล 

146 

69.85

รวมทั้งหมด 

2๐9 

1๐๐



 (ที่มา : ที่ทำการปกครองจังหวัดบุรีรัมย์)






-สัดส่วนประชากรเมืองต่อชนบท 

 

 

ปีพ.ศ. 2562 จังหวัดบุรีรัมย์มีจำนวนประชากรเมือง (ในเขตเทศบาล) 339,137 คน และประชากรชนบท (นอกเขตเทศบาล) จำนวน 1,256,610 คน ซึ่งคิดเป็นสัดส่วนประชากรในเมืองต่อ ชนบทเป็น 21:79 

ตารางที่ 36 สัดส่วนประชากรเมืองต่อชนบท จำแนกรายปี 

ที่ 

ข้อมูลประชากร

ปี พ.ศ. 

2560 

2561 

2562

จำนวนประชากรเมือง 

(ในเขตเทศบาล) (คน) 

340,217 

339,866 

339,137

จำนวนประชากรชนบท 

(นอกเขตเทศบาล) (คน)

1,251,688 

1,254,984 

1,256,610

สัดส่วนประชากรเมืองต่อชนบท 

21:79 

21:79 

21:79



(ที่มา : สำนักงานสถิติจังหวัดบุรีรัมย์ และสำนักทะเบียน กรมการปกครอง) 

 -กลุ่มชาติพันธุ์ 

ประชาชนในจังหวัดบุรีรัมย์ มีกลุ่มชาติพันธุ์ ซึ่งเป็นชนพื้นเมืองดั้งเดิม ๔ กลุ่ม คือ กลุ่มไทย โคราช กลุ่มไทยอีสานหรือไทย-ลาว กลุ่มไทย-เขมร และกลุ่มไทย-กวย นอกจากภาษาเป็นตัวบ่งชี้ที่สำคัญ สำหรับความแตกต่างของกลุ่มชาติพันธุ์เหล่านั้นแล้ว วิถีชีวิตส่วนรวมของแต่ละกลุ่มชาติพันธุ์ก็ยังมี เอกลักษณ์ของตนเองที่สามารถบอกได้ว่าเป็นชาติพันธุ์นั้นๆอีกด้วย 

1.กลุ่มไทย-โคราช กลุ่มไทยโคราชส่วนใหญ่จะอาศัยอยู่ในเขตอำเภอปะคำ นางรอง  หนองกี่และลำปลายมาศ ซึ่งมีอยู่ประมาณ ๑๕ % ของประชากรในจังหวัดบุรีรัมย์การแต่งกายจะนุ่ง โจงกระเบนทั้งชายและหญิง เสื้อคอกลมผ้าขาวม้าพาดบ่าด้านซ้าย หญิงนิยมทัดดอกไม้ที่หู ชาวไทย โคราชเป็นคนอ่อนน้อมถ่อมตน ว่านอนสอนง่ายเชื่อฟัง พ่อ แม่ ปูุ ย่า ตา ยาย และเชื่อฟังผู้นำ ไม่ ประพฤติล่วงเกินคำสั่งสอนของผู้เป็นบุพการีความเชื่อถือ การทำบุญใส่บาตร ส่งผลบุญไปให้บรรพ บุรุษ เป็นประเพณีที่นิยมทำกันในระหว่างเดือน ๖ ไม่กำหนดวันที่แน่นอน เป็นการทำบุญประจำ หมู่บ้าน ซึ่งเชื่อว่าเป็นการส่งผลบุญไปให้บรรพบุรุษที่ล่วงลับไปแล้ว เป็นการแสดงความกตัญญูต่อผู้มี 

พระคุณ ความเชื่อเกี่ยวกับการประกอบอาชีพ คือการทำนา ทำไร่ เมื่อถึงฤดูการทำนาคือเดือน ๖  ทุกปี เมื่อก่อนจะลงนา ลงทำไร่ ไถนา จะต้องประกอบพิธีแรกนา (แรกนาขวัญ) เพื่อความเป็นสิริ มงคลแก่การประกอบอาชีพ 

2.กลุ่มไทย-อีสาน หรือ ไทย-ลาว จากการศึกษาความเป็นมาของไทยลาวในจังหวัด บุรีรัมย์ ดั้งเดิมนั้น มักจะอยู่ทางเหนือแม่น้ำมูล โดยเฉพาะเผ่าพันธุ์ คนพุทไธสง นาโพธิ์ และบ้านใหม่ ไชยพจน์ ที่ติดกับเขตจังหวัดขอนแก่นและจังหวัดมหาสารคาม เป็นเชื้อสายที่อพยพเนื่องจากการศึก สงคราม สรุปได้ว่าชาติพันธุ์ไทย-ลาว ซึ่งเป็นชาวบุรีรัมย์ดั้งเดิม มาจากนครเวียงจันทน์และในแถบ ภูมิภาคนี้ ลาวเคยปกครองมาก่อนเผ่าพันธุ์เชื้อสายยังคงสืบทายาทกันต่อๆกันมาดังกล่าว ไว้ข้างต้น และกระจายกันไปในพื้นที่ต่างๆในจังหวัดบุรีรัมย์ เช่น ที่อำเภอลำปลายมาศ อำเภอหนองหงส์ ฯลฯ  เป็นต้น (ที่มา จากการสัมภาษณ์ คุณปูุประวัติ วิศิษฎ์ศิลป์ (จีนไธสง) เมื่อปีพ.ศ. ๒๕๐๐ ต้นตระกูลหนึ่งของบ้านมะเฟือง อำเภอพุทไธสง จังหวัดบุรีรัมย์) กลุ่มไทย-ลาวในจังหวัดบุรีรัมย์ส่วนใหญ่จะ 

อยู่ในเขตอำเภอพุทไธสง อำเภอนาโพธิ์ อำเภอสตึก อำเภอลำปลายมาศ อำเภอคูเมือง อำเภอบ้าน ใหม่ไชยพจน์ อำเภอหนองกี่ อำเภอแคนดง แต่ปัจจุบันได้กระจัดกระจายเกือบทุกอำเภอ คนไทยเชื้อ สายลาว มีประมาณ ๓๕ % ของประชากรในจังหวัดบุรีรัมย์ลักษณะการแต่งกาย ชายนิยมแต่งกาย แบบผ้าขาก๊วย หรือโสร่ง นิยมนุ่งผ้าหัวกูด (หัวกุด) เสื้อนิยมนุ่งเสื้อม่อฮ่อม ทอเอง ตัดเอง ส่วนมาก เป็นสีคราม 

3.กลุ่มไทย-เขมร จังหวัดบุรีรัมย์เป็นจังหวัดหนึ่งที่มีประชากรชาวเขมรอาศัยอยู่มาก  ทั้งนี้เพราะจังหวัดบุรีรัมย์มีพื้นที่อยู่ติดกับพรมแดนประเทศกัมพูชาประชาธิปไตยและจังหวัดสุรินทร์  ชาวไทย-เขมรในจังหวัดบุรีรัมย์ส่วนใหญ่อพยพมาจากจังหวัดสุรินทร์และศรีสะเกษ ประชากรที่พูด ภาษาไทย เขมรส่วนใหญ่จะอาศัยอยู่ทางตอนใต้ของจังหวัดบุรีรัมย์ ได้แก่ อำเภอประโคนชัย อำเภอ บ้านกรวด อำเภอปะคำ อำเภอละหานทราย อำเภอกระสัง อำเภอพลับพลาชัย อำเภอสตึก และ อำเภอเมืองบุรีรัมย์กลุ่มชาวไทย-เขมร ในจังหวัดบุรีรัมย์ดำเนินชีวิตด้วยเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมด้าน ขนบธรรมเนียมประเพณี ภาษา เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของกลุ่มตนเองไว้อย่างเหนียวแน่น โดยเฉพาะ ด้านความเชื่อ เช่น ความเชื่อทางด้านไสยศาสตร์ เครื่องรางของขลัง การเสกเปุา ยาสั่ง และการ ประกอบพิธีกรรมต่างๆ ในวิถีชีวิตตั้งแต่เกิดจนตาย ซึ่งมีการสืบต่อกันมาโดยมีผู้นำสืบทอดสู่ชนรุ่นหลัง อย่างเหนียวแน่น สำหรับประเพณีเกี่ยวกับความเชื่อ ชาวไทย-เขมรมีขนบธรรมเนียมประเพณีอย่าง หนึ่ง คือ การทำบุญอุทิศส่วนกุศลไปให้ผู้ตาย เรียกว่า การทำบุญโดนตา คือการทำบุญอุทิศส่วนกุศล ไปให้ผู้ตายไปแล้ว นิยมทำกันในวันสิ้นเดือน ๑๐ ประเพณีเกี่ยวกับการตาย จะนิยมฝังเอาไว้ก่อนจะไม่ เผา ๓-๔ ปี จึงจะขุดเอาขึ้นมาเผา 

4.กลุ่มไทย-กวย ปัจจุบันมีชาวไทย-กวย (ส่วนมากจะเรียกส่วย หรือกูย) กระจายอยู่ ทั่วไปในพื้นที่ต่างๆ ของจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ จังหวัดสุรินทร์ บุรีรัมย์ นครราชสีมา ศรีสะเกษ และบางส่วนของจังหวัดมหาสารคาม ซึ่งได้อพยพไปจากจังหวัดสุรินทร์ และ ศรีสะเกษ สำหรับชาวกวยในจังหวัดบุรีรัมย์ซึ่งอพยพมาจากจังหวัดอุบลราชธานี ศรีสะเกษ และ จังหวัดสุรินทร์ เมื่อประมาณ ๑๐๐ ปีกว่ามาแล้ว ได้เข้ามาอยู่ในเขตอำเภอเมืองบุรีรัมย์ หนองกี่ ลำ ปลายมาศ กระสัง สตึก พลับพลาชัย บ้านด่าน และประโคนชัย เป็นส่วนใหญ่ ชาวไทย-กวย พวกเขา จะเรียกตัวเองว่า กูย คำว่าส่วยเป็นคำพูดเรียกชื่อที่ชนชาติอื่นเรียกพวกเขา ซึ่งปกติพวกเขาไม่ชอบคำ ว่า ส่วย ผู้ที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับชนชาติส่วยคือ นายนุพรรณ ศรีแก้ว อยู่บ้านเลขที่ ๑๑๒ หมู่ ๓บ้านโคก ว่าน ตำบลหูทำนบ อำเภอปะคำ จังหวัดบุรีรัมย์ การนุ่งห่มและการแต่งกายของชนชาวส่วยนิยมการ แต่งกายนุ่งห่มเหมือนชนชาวเขมรแต่พิเศษคือนิยมทัดดอกไม้ที่อยู่ทั้งสองข้างจะเป็นดอกไม้สีอะไรก็ได้  ในงานพิธีต่างๆ ถ้าเห็นการแต่งกายทัดดอกไม้ที่หูปัจจุบันนี้ชาวไทยส่วยในจังหวัดบุรีรัมย์มีอยู่ประมาณ  ๒% ชนชาวกวยจะถือเคร่งในเรื่องการตอบแทนต่อผู้มีพระคุณ เช่นในทุกปีในช่วงสงกรานต์ พวก ลูกหลานจะต้องหาบน้ำไปให้พ่อ แม่ ปูุ ย่า ตา ยาย อาบ พร้อมทั้งหาเสื้อผ้าใหม่ๆให้ผลัดเปลี่ยนเป็น ประจำทุกปี เชื่อฟังคำสั่งสอนของบิดา มารดาไม่ประพฤตินอกรีดนอกรอย ความเชื่อเกี่ยวกับ ขนบธรรมเนียมประเพณีส่วนมากจะคล้ายกับพวกเขมร เช่น การตายจะไม่นิยมเผาแต่จะฝังไว้ก่อน เป็นต้น 

(ที่มา : สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดบุรีรัมย์)

 

 

- แรงงาน 

ตารางที่ 37 จำนวนแรงงานจังหวัดบุรีรัมย์ จำแนกรายปี 

ประเภทแรงงาน 

ปี พ.ศ.

2560 

2561 

2562

1.ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป(คน) 

970,765 

974,320 

975,921

2.ผู้ที่อยู่ในกำลังแรงงาน (คน) 

632,212 

682,578 

656,829

- ผู้มีงานทำ (คน) 

618,263 

673,037 

651,862

- ผู้ว่างงาน (คน) 

13,949 

9,357 

4,968

- อัตราการว่างงาน (%) 

(ผู้ว่างงาน/ผู้ที่อยู่ในกำลังแรงงาน)*100

2.192% 

1.0% 

0.76%

- ผู้ที่รอฤดูกาล (คน) 

3,942 

183 

0

3.ผู้อยู่นอกกำลังแรงงาน (คน) 

334,610 

291,742 

319,092



(ที่มา: สำนักงานสถิติจังหวัดบุรีรัมย์,สำนักงานแรงงานจังหวัดบุรีรัมย์) 

ปี 2562 ในกลุ่มผู้อยู่ในวัยทำงาน (ผู้มีอายุ 15 ปี ขึ้นไป) จำนวน 975,921 คน  พบว่า เป็นผู้อยู่ในกำลังแรงงาน 656,829 คน โดยจำแนกเป็น ผู้มีงานทำ 651,862 คน ขณะที่ผู้ ว่างงาน 4,968 คน คิดเป็นร้อยละ 0.76 

การประกอบอาชีพ 

ตารางที่ 38 จำนวนประชากรจำแนกตามประเภทอาชีพ 

ที่ 

อาชีพ 

ปีพ.ศ. 2560 

ปี พ.ศ. 2561 

ปี พ.ศ. 2562

คน 

ร้อยละ 

คน 

ร้อยละ 

คน 

ร้อยละ

เกษตรกรรม – ทำนา 

357,636 

34.31 

356,650 

33.85 

354,179 

33.60

เกษตรกรรม – ทำไร่ 

18,843 

1.81 

193,22 

1.83 

19,271 

1.83

เกษตรกรรม – ทำสวน 

6,146 

0.59 

6,101 

0.58 

6,162 

0.58

เกษตรกรรม – ประมง 

104 

0.01 

102 

0.01 

94 

0.01

เกษตรกรรม –ปศุสัตว์ 

552 

0.05 

536 

0.05 

560 

0.05

รับราชการ เจ้าหน้าที่ของรัฐ 

27,093 

2.60 

27,592 

2.62 

27,846 

2.64

พนักงานรัฐวิสาหกิจ 

1,881 

0.18 

1,945 

0.18 

1,896 

0.18

พนักงานบริษัท 

10,303 

0.99 

10,380 

0.99 

10,533 

1.00

รับจ้างทั่วไป 

286,346 

27.47 

289,541 

27.48 

289,863 

27.50

10 

ค้าขาย 

32,099 

3.08 

32,455 

3.08 

32,728 

3.10

11 

ธุรกิจส่วนตัว 

7,026 

0.67 

7,049 

0.67 

7,007 

0.66

12 

อาชีพอื่น (นอกเหนือที่กล่าว แล้ว)

25,236 

2.42 

24,367 

2.31 

24,314 

2.31

13 

กำลังศึกษา 

209,774 

20.12 

217,613 

20.65 

221,861 

21.05

14 

ไม่มีอาชีพ 

59,443 

5.70 

60,057 

5.70 

57,859 

5.49

 

รวม 

1,042,482 

100 

1,053,710 

100 

1,054,173 

100



(ที่มา: รายงานคุณภาพชีวิตของคนจังหวัดบุรีรัมย์ จากข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน จปฐ )

 

 

 จำนวนประชากรจำแนกตามประเภทอาชีพ ปี 2562 อาชีพเกษตรกรรม – ทำนา เป็น 

อาชีพที่มีสัดส่วนมากที่สุด จำนวน 354,179 คน คิดเป็นร้อยละ 33.60 รองลงมาคือ อาชีพรับจ้าง ทั่วไป จำนวน 289,863 คน คิดเป็นร้อยละ 27.50 

- ด้านการศึกษา ปี 2562 จังหวัดบุรีรัมย์แบ่งการศึกษาออกเป็นเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา ๔ เขต และเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 32  

ตารางที่ 39 ข้อมูลจำนวนสถานศึกษาในจังหวัด (ทั้งภาครัฐและเอกชน)จำแนกรายปี 

ที่ 

รายการ

จำนวนสถานศึกษา 

(ทั้งภาครัฐและเอกชน) 

ปี พ.ศ. 2560 

ปี พ.ศ. 2561 

ปี พ.ศ. 2562

ประถมศึกษา (แห่ง) 

894 

894 

894

มัธยมศึกษา (แห่ง) 

66 

66 

66

อาชีวะศึกษา (แห่ง) 

13 

13 

13

อุดมศึกษา (แห่ง) 

6

 

รวม (แห่ง) 

979 

979 

979



(ที่มา: สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดบุรีรัมย์

ตารางที่ 40 ข้อมูลจำนวนครูและนักเรียน จำแนกรายปี 

ที่ 

รายการ

ปี พ.ศ. 2560 

ปี พ.ศ. 2561 

ปี พ.ศ. 2562

ครู/ 

อาจารย์

นักเรียน/ 

นักศึกษา

ครู/ 

อาจารย์

นักเรียน/ 

นักศึกษา

ครู/ 

อาจารย์

นักเรียน/ 

นักศึกษา

ประถมศึกษา (คน) 

7,658 

94,515 

10,861 

114,979 

10,861 

114,979 

มัธยมศึกษา (คน) 

3,173 

8,073 

2,255 

86,271 

2,255 

86,271 

อาชีวะศึกษา (คน) 

654 

4,373 

877 

20,582 

877 

20,582 

อุดมศึกษา (คน) 

455 

3,928 

834 

15,409 

834 

15,409 

 

รวม 

11,940 

110,889 

14,827 

237,241 

14,827 

237,241



(ที่มา: สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดบุรีรัมย์

-ข้อมูลสถิติคะแนนเฉลี่ยการทดสอบ O-Net 

ตารางที่ 41 คะแนนเฉลี่ยการทดสอบ O-Net จำแนกรายปี 

ที่ 

คะแนนเฉลี่ยการทดสอบ O-Net (%) 

ปี พ.ศ. 2560 

ปี พ.ศ. 2561 

ปี พ.ศ. 2562

ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (%) 

32.62 

35.95 

32.62

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (%) 

30.43 

31.74 

30.65



(ที่มา: สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) ประมวลผลโดย สำนักพัฒนาฐานข้อมูลและตัวชี้วัดภาวะสังคม สศช.  ,สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32)

 

 

- ด้านการสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์มีโรงพยาบาลศูนย์ ๑ แห่ง โรงพยาบาล 

ชุมชน ๒2 แห่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล 227 แห่ง สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ  23 แห่ง โรงพยาบาลเอกชน 2 แห่ง คลินิกเอกชน 362 แห่ง มีจำนวนบุคลากรทางสาธารณสุขดังนี้  แพทย์ 362 คน ทันตแพทย์ 101 คน เภสัชกร 220 คน และ พยาบาลวิชาชีพและพยาบาลเทคนิค 2,792 คน  

ตารางที่ 42 ข้อมูลด้านสาธารณสุข 

ที่ 

รายการ

ปี พ.ศ.  

2560

ปี พ.ศ.  

2561

ปี พ.ศ.  

2562

โรงพยาบาลรัฐ (แห่ง) 

23 

23 

23 

โรงพยาบาลเอกชน (แห่ง) 

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (แห่ง) 

227 

227 

227 

คลินิก (แห่ง) 

312 

320 

362

 

รวม 

564 

527 

614



(ที่มา: สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดบุรีรัมย์) 

ตารางที่ 43 ข้อมูลบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข 

ที่

รายการ

ปี พ.ศ.  

2560

ปี พ.ศ.  

2561

ปี พ.ศ.  

2562

แพทย์(คน) 

325 

343 

396

ทันตแพทย์(คน) 

114 

122 

101

เภสัชกร (คน) 

196 

207 

220

พยาบาลวิชาชีพ และพยาบาลเทคนิค (คน) 

2,151 

2,182 

2,792

 

รวม 

3,035 

2,786 

2,854



(ที่มา: สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดบุรีรัมย์) 

- ด้านการเกิดอุบัติเหตุ 

ตารางที่ 44 อัตราการเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนน / อัตราผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนท้องถนน(ต่อ ประชากรแสนคน) 

รายการ

ปี พ.ศ. 2560 

ปี พ.ศ. 2561 

ปี พ.ศ. 2562

การเกิด 

อุบัติเหตุ 

(ครั้ง)

ผู้เสียชีวิต 

(ราย)

การเกิด 

อุบัติเหตุ 

(ครั้ง)

ผู้เสียชีวิต 

(ราย)

การเกิด 

อุบัติเหตุ 

(ครั้ง)

ผู้เสียชีวิต (ราย)

อัตราการเกิด 

อุบัติเหตุบนท้องถนน  / อัตราผู้เสียชีวิตจาก อุบัติเหตุบนท้องถนน (ต่อประชากรแสนคน)

144.36 

19.10 

96.12 

11.29 

43.68 

17.57



(ที่มา: สำนักงานปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดบุรีรัมย์)

 

 

- ด้านการศาสนา ปีพ.ศ. 2562 พบว่าประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ  คิดเป็นร้อยละ 99.77 รองลงมานับถือศาสนาคริสต์ คิดเป็นร้อยละ 0.20 และนับถือศาสนาอิสลาม  คิดเป็นร้อยละ 0.02 

(ที่มา: ข้อมูล จปฐ สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดบุรีรัมย์) 

- ด้านภาษา ประชากรพื้นที่ตอนบนของจังหวัดส่วนใหญ่พูดภาษาอีสาน ตอนล่างและ พื้นที่ติดจังหวัดสุรินทร์พูดภาษาเขมร และพื้นที่ติดจังหวัดนครราชสีมาพูดภาษาไทยโคราช (ที่มา: สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดบุรีรัมย์) 

- ด้านอาชญากรรม 

ตารางที่ 45 ข้อมูลสถิติการรับแจ้งและจับกุมคดีกลุ่มคดีอาญาที่น่าสนใจ จำแนกรายปี 

 

ประเภทความผิด 

ปีพ.ศ. 2560 

ปีพ.ศ. 2561 

ปี พ.ศ. 2562

ที่ 

รับแจ้ง 

จับกุม 

รับแจ้ง 

จับกุม 

รับแจ้ง 

จับกุม

โจรกรรมรถจักรยานยนต์ 

14 

12 

13 

9

โจรกรรมรถยนต์ 

2

โจรกรรมโค-กระบือ 

-

-

โจรกรรมเครื่องมือเกษตร 

-

-

ปล้น-ชิงรถยนต์โดยสาร 

-

ปล้น-ชิงรถยนต์แท็กซี่ 

-

-

ข่มขืนและฆ่า 

-

-

ลักพาเรียกค่าไถ่ 

-

-

ฉ้อโกง 

73 

60 

154 

103 

101 

88

10 

ยักยอกทรัพย์ 

75 

67 

99 

70 

74 

64

 

รวม 

163 

124 

263 

179 

190 

163



 (ที่มา : ตำรวจภูธรจังหวัดบุรีรัมย์) 

ตารางที่ 46 ข้อมูลสถิติการรับแจ้งและจับกุมกลุ่มคดีอุกฉกรรจและสะเทือนขวัญจำแนกรายปี 

 

ประเภทความผิด 

ปีพ.ศ. 2560 

ปีพ.ศ. 2561 

ปีพ.ศ. 2562

ที่ 

รับแจ้ง 

จับกุม 

รับแจ้ง 

จับกุม 

รับแจ้ง 

จับกุม

ฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา 

24 

24 

19 

17 

14 

14

ปล้นทรัพย์ 

-

ชิงทรัพย์ 

4

ลักพาเรียกค่าไถ่ 

-

วางเพลิง 

4

 

รวม 

33 

32 

28 

32 

23 

22



 (ที่มา : ตำรวจภูธรจังหวัดบุรีรัมย์)

 

 

- ด้านปัญหายาเสพติด 

ตารางที่ 47 ข้อมูลสถิติเกี่ยวกับการจับกุมคดียาเสพติดจำแนกรายปี 

 

รายการ

ปี พ.ศ.

ที่ 

2560 

2561 

2562

สถิติเกี่ยวกับการจับกุมคดียาเสพติด (ราย) 

2,434 

4,217 

5,761



 (ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ, ตำรวจภูธรภาค3) 

  1. ข้อมูลด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 

 (๑) ทรัพยากรป่าไม้ 

ตารางที่ 48 ข้อมูลด้านทรัพยากรป่าไม้จังหวัดบุรีรัมย์ จำแนกรายปี 

ที่

ทรัพยากรป่า ไม้/ 

ประเภทป่า 

ไม้

พ.ศ.2560 

พ.ศ.2561 

พ.ศ.2562

แปลง 

ตร.กม. 

ไร่ 

แปลง 

ตร.กม. 

ไร่ 

แปลง 

ตร.กม. 

ไร่

ปุาสงวน 

แห่งชาติ 

22 

2,800.11 

1,750,069.50 

22 

2,800.11 

1,750,069.50 

22 

2,800.11 

1,750,069.50

อุทยาน 

แห่งชาติ

380.16 

237,600 

380.16 

237,600 

380.16 

237,600

วนอุทยาน 

2.32 

1,450 

-

ปุาไม้ถาวร 

ของชาติ

10 

67.19 

41,994 

10 

67.19 

41,994 

10 

67.19 

41,994

เขตรักษาพันธุ์ สัตว์ปุา

312.78 

195,486 

312.78 

195,486 

312.78 

195,486

เขตห้ามล่า 

สัตว์ปุา

32.44 

20,278 

34.76 

21,728 

34.76 

21,728

 

รวม 

39 

3,595 

2,246,877.50 

39 

3,595 

2,051,391.50 

39 

3,595 

2,051,391.50



(ที่มา: สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดบุรีรัมย์ )  

(2) หิน บุรีรัมย์มีภูเขาไฟที่ดับแล้ว ๖ ลูก บริเวณรอบๆ ภูเขาไฟ ยังอุดมไปด้วย หิน บะซอลท์ ที่มีคุณภาพดี แข็งแกร่ง เหมาะสำหรับใช้ในการก่อสร้างอาคาร ถนน และงาน ก่อสร้างทั่วๆ ไปจึงมี ผู้ประกอบกิจการโรงโม่หินในจังหวัดจำนวนมากถึง ๑๐ โรง ส่งหินที่บดย่อยแล้ว ไปขายในหลายๆ จังหวัด 

(๓) ทรายน้ำจืด มีทรายน้ำจืดอยู่ริมฝั่งแม่น้ำมูล ในท้องที่อำเภอคูเมือง พุทไธสง  และอำเภอ สตึก มีผู้ประกอบการดูดทรายหลายราย 

(๔) ดินในจังหวัดมีลักษณะเป็นดินร่วนปนทราย  

(๕) แหล่งน้ำธรรมชาติที่สำคัญ ได้แก่ 

- แม่น้ำมูล อยู่ทางตอนเหนือของจังหวัด มีปริมาณน้ำท่าเฉลี่ยทั้งปี  

๒๕๖.๖๙ ล้านลูกบาศก์เมตร เป็นแหล่งน้ำสำคัญในการอุปโภค – บริโภค และเพื่อการเกษตร - ลำน้ำชีเป็นลำน้ำแบ่งเขตจังหวัดบุรีรัมย์ และสุรินทร์ อยู่ทางทิศ 

ตะวันออกของจังหวัด มีปริมาณน้ำท่าเฉลี่ยทั้งปี ประมาณ ๔๔๔.๖๙ ล้านลูกบาศก์เมตร



- ลำปลายมาศ ไหลมาจากจังหวัดนครราชสีมา สู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ 

ของจังหวัดบุรีรัมย์ มีปริมาณน้ำท่าเฉลี่ยทั้งปีประมาณ ๔๖๔.๗๒ ล้านลูกบาศก์เมตร - ลำนางรอง เกิดจากเทือกเขาทางด้านทิศใต้ของจังหวัดบุรีรัมย์ มีปริมาณ 

น้ำท่าเฉลี่ยทั้งปีประมาณ ๒๗๑.๗๑ ล้านลูกบาศก์เมตร  

- ลำปะเทีย เกิดจากเทือกเขาทางตอนใต้ของจังหวัด มีปริมาณน้ำท่าเฉลี่ย 

ทั้งปีประมาณ ๑๖๑.๗๖ ล้านลูกบาศก์เมตร 

-ลำพังชู มีปริมาณน้ำท่าเฉลี่ยทั้งปีประมาณ ๑๔๖.๔๐ ล้านลูกบาศก์เมตร  

จังหวัดบุรีรัมย์ มีลุ่มน้ำย่อยทั้งหมด จำนวน ๑๐ ลุ่มน้ำ ปัจจุบันสามารถเก็บกักน้ำได้ รวมทั้งสิ้น ๙๓๓.๔๕ ล้านลูกบาศก์เมตร แต่จากการวิเคราะห์จังหวัดบุรีรัมย์มีความต้องการใช้น้ำ ปริมาณทั้งสิ้น จำนวน ๑,๐๑๐.๔๔ – ๑,๑๕๗.๙๕ ล้านลูกบาศก์เมตร ซึ่งยังขาดปริมาณน้ำอีก ประมาณ ๗๒.๙๙ – ๒๒๔.๖ ล้านลูกบาศก์เมตร 

 (6) ปริมาณขยะ 

ตารางที่ 49 ข้อมูลปริมาณขยะ/ปีจำแนกรายปี 

ที่ 

ปริมาณขยะ (ตัน/ปี) 

ปี พ.ศ.

2560 

2561 

2562

ปริมาณขยะ (ตัน/ปี) 

547,865 

573,681.89 

576,557.65

ขยะที่นำไปใช้ประโยชน์ (ตัน/ปี) 

212,430 

218,476.69 

277,071.50

สัดส่วนขยะที่ถูกนำไปใช้ 

38.77 

38.08 

48.08



(ที่มา: สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดบุรีรัมย์ ) 

(7) ภัยธรรมชาติ 

-ข้อมูลสถิติประชากรที่ประสบภัยธรรมชาติ 

ตารางที่ 50 สถิติประชากรที่ประสบภัยธรรมชาติจำแนกรายปี 

ที่ 

ประชากรที่ประสบภัยธรรมชาติ 

ปี พ.ศ. 2560 

ปี พ.ศ. 2561 

ปี พ.ศ. 2562

ภัยแล้ง (คน) 

2,000 

94,029

320,554 

ภัยหนาว (คน) 

-

-

อัคคีภัย (คน) 

123 

158

198 

วาตภัย (คน) 

8,439 

7,554

6,582 

อุทกภัย (คน) 

87,890 

200

3,361 

 

รวม 

98,452 

101,941

330,695 



(ที่มา: สำนักงานปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดบุรีรัมย์ )

 

 

-ข้อมูลสถิติการเกิดภัยแล้งในพื้นที่ 

ตารางที่ 51 สถิติการเกิดภัยแล้งในพื้นที่จำแนกรายปี 

ที่ 

สถิติการเกิดภัยแล้งในพื้นที่ 

ปี พ.ศ. 2560 

ปี พ.ศ. 2561 

ปี พ.ศ. 2562

จำนวนครั้งที่เกิด (ครั้ง) 

1

พื้นที่ประสบภัย (อำเภอ) 

14

11 

จำนวนครัวเรือนที่ประสบภัย (ครัวเรือน) 

2,000 

43,861

163,822 

พื้นที่เกิดความเสียหาย (ไร่) 

280,390.25 

326,599.80 

มูลค่าความเสียหาย (บาท) 

312,074,248.25 

14,872,990.02 



(ที่มา: สำนักงานปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดบุรีรัมย์ ) 

-ข้อมูลสถิติการเกิดวาตภัยในพื้นที่ 

ตารางที่ 52 สถิติการเกิดวาตภัยในพื้นที่จำแนกรายปี 

ที่ 

สถิติการเกิดวาตภัยในพื้นที่ 

ปี พ.ศ. 2560 

ปี พ.ศ. 2561 

ปี พ.ศ. 2562

จำนวนครั้งที่เกิด (ครั้ง) 

43 

49 

82 

พื้นที่ประสบภัย (อำเภอ) 

23 

23 

22 

จำนวนครัวเรือนที่ประสบภัย (ครัวเรือน) 

2,531 

3,262 

2,360 

เสียชีวิต (คน) 

2

-

บาดเจ็บ (คน) 

มูลค่าความเสียหาย (บาท) 

-

-



(ที่มา: สำนักงานปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดบุรีรัมย์) 

-ข้อมูลสถิติการเกิดอัคคีภัยในพื้นที่ 

ตารางที่ 53 สถิติการเกิดอัคคีภัยในพื้นที่จำแนกรายปี 

ที่ 

สถิติการเกิดอัคคีภัยในพื้นที่ 

ปี พ.ศ. 2560 

ปี พ.ศ. 2561 

ปี พ.ศ. 2562

จำนวนครั้งที่เกิด (ครั้ง) 

34 

39 

49

พื้นที่ประสบภัย (อำเภอ) 

15 

17 

20

จำนวนครัวเรือนที่ประสบภัย (ครัวเรือน) 

39 

48 

166 

เสียชีวิต (คน) 

-

บาดเจ็บ (คน) 

-

มูลค่าความเสียหาย (บาท) 

19,153,250 



(ที่มา: สำนักงานปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดบุรีรัมย์)

 

 

  1. ข้อมูลเชิงสถิติที่สำคัญเชิงพื้นที่ 

(1) ด้านอุตสาหกรรม จังหวัดบุรีรัมย์มีโรงงานอุตสาหกรรมทางการเกษตรเช่น โรงสี ข้าว โรงงานแปรรูปมันสำปะหลัง โรงงานน้ำตาล โรงงานแปรรูปยางพารา เป็นต้น และยังมีโรงงาน อุตสาหกรรมอโลหะ (เหมืองแร่ เหมืองหิน) มีแร่หินบะซอลต์ หรือหินก่อสร้างที่ดีที่สุด  

(2) ด้านการเกษตร จังหวัดบุรีรัมย์มีผลผลิตทางการเกษตร ที่มีศักยภาพและมี แนวโน้มเพิ่มขึ้นในแต่ละปี เช่น  

ข้าว ปี พ.ศ. 2562 มีพื้นที่ปลูก 2,899,581 ไร่ ปริมาณการผลิต 811,357.62 ตัน  มูลค่าการจำหน่าย 10,224.37 ล้านบาท ลดลงจากปีก่อนร้อยละ 14.47 (ปี พ.ศ.2561 จำหน่ายได้  11,954 ล้านบาท) สำหรับแนวโน้มผลผลิตข้าวในปีถัดไปคาดการณ์ว่าน่าจะลดลงเนื่องจากจังหวัด บุรีรัมย์ประสบภาวะแล้งอย่างต่อเนื่องหลายปี 

มันสำปะหลั ง ปี พ.ศ. 2562 มีพื้นที่ปลูก 357,833 ไร่ ปริมาณการผลิต 1,321,477.27 ตัน มูลค่าการจำหน่าย 2,524.07 ล้านบาท ลดลงจากปีก่อนร้อยละ 28.55 (ปี  พ.ศ.2561 จำหน่ายได้ 3,532.49 ล้านบาท) 

อ้อย ปี พ.ศ. 2561 มีพื้นที่ปลูก 261,041 ไร่ ปริมาณการผลิต 2,151,821 ตัน  มูลค่าการจำหน่าย 1,527.79 ล้านบาท ลดลงจากปีก่อนร้อยละ 33.19 (ปี พ.ศ.2561 จำหน่ายได้  2,286.92 ล้านบาท) 

ยางพารา ปีพ.ศ. 2562 มีพื้นที่ปลูก 271,859 ไร่ เนื้อที่กรีดยาง 193,726 ไร่  ปริมาณการผลิต 43,529.40 ตัน มูลค่าการจำหน่าย 1,508.29 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อนร้อย ละ 14.18 (ปี พ.ศ.2561 จำหน่ายได้ 1,320.97 ล้านบาท) 

(3) ด้านการท่องเที่ยว จังหวัดบุรีรัมย์มีแหล่งท่องเที่ยวทั้งที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวทาง อารยธรรมขอม และแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติเป็นจำนวนมาก เช่น อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง  ปราสาทเมืองต่ำ แหล่งเตาเผาเครื่องเคลือบโบราณ ปากปล่องภูเขาไฟที่ดับแล้ว ๖ ลูก นอกจากนี้ยังมี แหล่งท่องเที่ยวที่มนุษย์สร้างขึ้น ได้แก่ สนามฟุตบอลช้างอารีน่า (เดิมคือสนามฟุตบอลไอโมบาย) สนามแข่งรถบุรีรัมย์ช้างอินเตอร์เนชั่นแนล เซอร์กิต และจุดผ่อนปรนการค้าช่องสายตะกู อำเภอบ้าน กรวด มีพื้นที่ติดกับประเทศกัมพูชา ได้เปิดเป็นจุดผ่อนปรนการค้า เพื่อให้มีการค้าขายระหว่าง ๒  ประเทศร่วมกัน ส่งเสริมรายได้ของประเทศจากการท่องเที่ยวและการซื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้ามี แนวโน้มเพิ่มมากขึ้น ขณะนี้อยู่ระหว่างการพิจารณาดำเนินการยกระดับเป็นจุดผ่านแดนถาวรใน อนาคตต่อไป  

 สถานการณ์การท่องเที่ยวจังหวัดบุรีรัมย์ ในปี 2562 จังหวัดบุรีรัมย์มีสถิตินักท่องเที่ยว  จำนวน 2,267,080 คน เพิ่มขึ้นร้อยละ 12.52 เมื่อเทียบกับ ปี 2561 (2,014,791 คน) และมี รายได้จากการท่องเที่ยว ในปี 2562 จำนวน 4,859.91 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 14.43 เมื่อ เทียบกับ ปี 2561 (4,246.95 ล้านบาท) สำหรับพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวส่วนใหญ่ จะเป็นการ แวะเที่ยวที่ปราสาทพนมรุ้ง โดยไม่มีการพักค้างคืน จึงทำให้รายได้จากการท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นค่อนข้าง น้อย เมื่อเทียบกับจังหวัดใกล้เคียง แต่ในปัจจุบันจะมีนักท่องเที่ยวมากขึ้นในวันที่มีการแข่งขันฟุตบอล 



และแข่งขันรถยนต์ทางเรียบ ซึ่งมีนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติเดินทางเข้ามาเที่ยว 

จังหวัดบุรีรัมย์เพิ่มมากขึ้น ในวันหยุดสุดสัปดาห์ (เสาร์-อาทิตย์) ถ้ามีการแข่งฟุตบอล หรือมีการแข่งรถ  มีนักท่องเที่ยวประมาณ 30,000-50,000 คน 

 (4) ด้านสินค้า OTOP จังหวัดบุรีรัมย์มีสินค้า OTOP ที่หลากหลายประเภท เช่น ผ้า ไหมที่เป็นลายเอกลักษณ์ของจังหวัด ผ้าซิ่นตีนแดง นอกจากนี้ยังมีสินค้า OTOP อีกหลากหลาย ประเภท เช่น ประเภทของใช้ที่เป็นผลิตภัณฑ์จากไม้ หรือจากผักตบชวา ประเภทสมุนไพรถนอมผิว  ประเภทอาหาร เช่น ขาหมู กระยาสารท กุนเชียง กุ้งจ่อม เป็นต้น 

ตารางที่ 54 มูลค่าการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ผ้าไหมของจังหวัดบุรีรัมย์ จำแนกรายปี 

มูลค่าการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ผ้าไหมของจังหวัด (ล้านบาท)

ปี พ.ศ. 2560 

ปี พ.ศ. 2561 

ปี พ.ศ. 2562

577 

582.66 

600.14



 (ที่มา: ศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ บุรีรัมย์ ) 

ตารางที่ 55 ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ไหมของจังหวัด จำแนกรายปี 

ที่ 

ผลิตภัณฑ์ไหม

ปี พ.ศ.

2560 

2561 

2562

พื้นที่ปลูกหม่อนเลี้ยงไหม (ไร่)

7,000 

6,286 

7,820 

เกษตรกรผู้ปลูกหม่อนเลี้ยงไหม (ราย)

13,000 

11,817 

15,045 

ผู้ผลิตผ้าไหมและหรือผลิตภัณฑ์ไหม (ราย)

12,000 

14,720 

14,770 

ผลผลิตเส้นไหม (ก.ก./ปี)

36,000 

37,693 

39,600 

ราคาเส้นไหมเฉลี่ย (บาท/กก.) 

1,600 - 2,200 

1,800-2,200 

1,500 - 2,200 

มูลค่าผลผลิตเส้นไหมรวม (บาท/ปี)

57,600,000 

43,441,200 

45,000,000



 (ที่มา: ศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ บุรีรัมย์ )